สำนักราชบัณฑิตยสภา

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 622 ๑.๑ มีนโยบายไม่ชัดเจน ๑.๒ ภาครัฐขาดการสนับสนุนอย่างเป็น รูปธรรม ๒.๑ การประชาสัมพันธ์ไม่ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๒ ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ๓.๑ ขาดการสร้างเครือข่ายกับแหล่ง ท่องเที่ยวใกล้เคียง ๓.๒ ขาดการดูแลและบูรณะแหล่ง ท่องเที่ยวให้พร้อมรับต่อการเยี่ยมชม ๔.๑ เส้นทางการคมนาคมไม่สะดวกและ ไม่ปลอดภัยในการเดินทาง ๔.๒ ระยะทางไกลเกินไป ๑. นโยบายของภาครัฐ ๒. การประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ๓. แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง ๔. ระยะทางในการเดินทางมา ท่องเที่ยว ๑.๑ มีนโยบายชัดเจน ๑.๒ ภาครัฐมีการสนับสนุนการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างจริงจัง ๒.๑ การประชาสัมพันธ์ครอบคลุมสื่อ ทุกประเภทและทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๒ มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ๓.๑ มีความคิดโดดเด่นและมีคุณค่าของ แหล่งท่องเที่ยว ๓.๒ มีการเชื่อมโยงองค์ความรู้เรื่องราว เหตุการณ์ของแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง ๔.๑ การคมนาคมสะดวกและมีความ ปลอดภัยในการเดินทาง ๔.๒ ระยะทางอยู่ใกล้ตัวเมือง (ไม่ไกลเกินไป) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ควรมีภูมิคุ้มกัน ในด้านการตลาด ด้วยการประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่อื่น ๆ ซึ่ง อยู่ในเครือข่ายเดียวกันด้วย เพื่อที่จะได้ ท� ำให้นักท่องเที่ยวเชิงเกษตรสามารถท่อง เที่ยวเชิงเกษตรในสถานที่ต่าง ๆ ที่มีรูป แบบที่แตกต่างกัน ควรเพิ่มเติมองค์ความ รู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรร่วมกัน เพื่อให้เครือข่ายสามารถด� ำเนินกิจกรรม ร่วมกันได้ และควรมีคุณธรรมในการ ด� ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวระหว่างกัน ด้วยการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการ ตัวชี้วัด ความส� ำเร็จของ ความล้มเหลวของ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตารางที่ ๑ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดความส� ำเร็จและความล้มเหลวของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในจังหวัดนครราชสีมาตามแนวของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาสัมพันธ์ แหล่ งท่องเที่ยวที่อยู่ ภายใต้เครือข่ายเดียวกันอย่างไม่ปกปิด ข้อมูล และส่งเสริม/สนับสนุนให้นัก ท่องเที่ยวมีการเพิ่มเติมเป้าหมายในการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพิ่มขึ้น ดังนั้นจะ เห็นว่ากลยุทธ์ส� ำหรับการสร้างเครือข่าย การท่ อง เที่ยว เ ชิง เ กษตรในจังหวัด นครราชสีมาตามแนวทางของหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการเงิน ด้านการผลิต และด้านการตลาด ซึ่งใน ที่สุดจะท� ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิง เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาเกิดความ ยั่งยืนในการด� ำเนินงานในรูปแบบของ เครือข่ายที่มีความมั่นคงตลอดไป ส่วนที่ ๔ ผลการศึกษาการจัด ท� ำตัวชี้วัดความส� ำเร็จและความล้มเหลว ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด นครราชสีมา ตามแนวทางของหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัดท� ำตัวชี้วัดความส� ำเร็จและ ความล้มเหลวของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในจังหวัดนครราชสีมาตามแนวทางของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้วิจัยสรุป ได้ ๑๐ ประการ ดังแสดงในตารางที่ ๑

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=