สำนักราชบัณฑิตยสภา

สุวิมล ตั้งประเสริฐ 621 วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ แนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง ส� ำหรับกลยุทธ์การสร้างเครือข่าย การท่ อง เที่ยว เ ชิง เ กษตรในจังหวัด นครราชสีมา มีดังต่อไปนี้ ๑. ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ เครือข่ ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรใน จังหวัดนครราชสีมา ควรมีความพอ ประมาณในการพัฒนาบุคลากร ด้วย วิธีการรวมตัวของกลุ่มเป็นเครือข่ าย ท� ำให้สมาชิกของกลุ่มในเครือข่ายรู้จัก ใช้ทรัพยากรในการท� ำการเกษตรเพื่อการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้ างความมีเหตุผลโดยสมาชิก กลุ่มเกษตรกรรวมตัวเป็นเครือข่ายท� ำ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อ เป็นศูนย์ประสานงานที่มีเป้าหมายชัดเจน ซึ่งจะท� ำให้ เครือข่ ายมีความเข้มแข็ง มากขึ้น ควรมีภูมิคุ้มกันในการพัฒนา บุคลากร การเป็นเครือข่ายการท่องเที่ยว เชิงเกษตรส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยน ความรู้ เทคโนโลยี การบริหารจัดการ และเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีร่วม แรงร่วมใจ ท� ำให้เป็นภูมิคุ้มกันในการ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน ควรเพิ่มองค์ความรู้ด้านการท่องเที่ยว เชิงเกษตรด้วยการสร้างกระบวนการ เรียนรู้ โดยเครือข่ายควรวางแผนพัฒนา ผู้น� ำรุ่นใหม่ด้วยการฝึกอบรมและศึกษา ดูงานจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นตัวอย่าง ที่ดี และควรรักษาคุณธรรมในการด� ำเนิน กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรระหว่าง กัน โดยแต่ละกลุ่มที่เข้าร่วมเครือข่าย ระหว่างกันตั้งอยู่บนพื้นฐานด้วยความรัก เมตตา เอื้ออาทร และสร้างสัมพันธภาพ ที่ดีของสมาชิกในเครือข่าย เพื่อให้เครือ ข่ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด นครราชสีมามีความเข้มแข็งและความ ยั่งยืนตลอดไป ๒. ด้านการเงิน คือควรมีความ พอประมาณในด้านการเงินด้วยการระดม เงินเพื่อเป็นเงินกองทุนในการด� ำเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน แต่การระดม ทุนนั้นควรด� ำเนินการอย่ างค่อยเป็น ค่อยไปโดยใช้ความพอประมาณเป็น ที่ตั้ง ควรมีเหตุผลในด้านการเงินด้วย การใช้จ่ายเงินของกองทุนเครือข่ายฯ ให้คุ้มค่ามากที่สุด ควรมีภูมิคุ้มกันที่ดี ในด้านการเงินด้วยการเสนอโครงการ เพื่อของบประมาณสนับสนุนจากหน่วย งานภาครัฐ เพื่อร่วมกันส่งเสริมและ สนับสนุนเส้นทางการท่ องเที่ยวเชิง เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาร่วมกัน ควรเพิ่มเติมองค์ความรู้ในด้านการเงิน ระหว่ างสมาชิกของเครือข่ าย เพื่อที่ เครือข่ายจะได้มีองค์ความรู้ด้านการเงิน มากขึ้น และควรมีคุณธรรมในด้านการ เงินด้วยการเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ของเครือข่ายให้กับสมาชิกทุกกลุ่มของ เครือข่ายได้รับทราบ รวมทั้งควรตั้งคณะ กรรมการเพื่อด� ำเนินการตรวจสอบการ ใช้ เงินของเครือข่ ายด้วย เพราะการ ด� ำเนินการดังกล่าวจะท� ำให้การด� ำเนิน กิจกรรมของเครือข่ ายเป็ นไปอย่ าง โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ใน ที่สุดจะท� ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิง เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาเกิดความ ยั่งยืนในการด� ำเนินงานในรูปแบบของ เครือข่าย ๓. ด้านการผลิต คือควรมีความ พอประมาณด้วยการศึกษาข้อมูลด้าน การให้บริการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในแต่ละแห่ง และไม่ด� ำเนินธุรกิจการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในรูปแบบเดียวกัน เพื่อสร้างความแตกต่างของการท่องเที่ยว เชิงเกษตรระหว่างกลุ่ม เพื่อให้แต่ละกลุ่ม สามารถด� ำเนินธุรกิจของตนเองต่อไปได้ ควรมีความมีเหตุผลด้วยการรวมกลุ่มกัน แล้วน� ำการให้บริการการท่องเที่ยวเชิง เกษตรที่มีลักษณะเด่นของแต่ละแห่งมา เป็นจุดขาย ควรมีภูมิคุ้มกันด้วยการจัด ประชุมเครือข่ายร่วมกันอย่างสม�่ ำเสมอ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง กัน ซึ่งจะมีผลให้เกิดความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน และเอื้ออาทรต่อกันใน ระยะยาว ควรได้รับองค์ความรู้เพิ่มเติม โดยเฉพาะในเรื่องของการด� ำเนินกิจกรรม ระหว่ างเครือข่ายร่วมกัน และควรมี คุณธรรม โดยกลุ่มแต่ละกลุ่มที่เข้าร่วม เครือข่ายระหว่างกันจะต้องด� ำเนินการ เปิดเผยข้อมูลให้กับสมาชิกในเครือข่าย ได้รับทราบข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา เพื่อที่จะได้ท� ำให้แต่ละกลุ่มในเครือข่าย เกิดความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ผล ดังกล่าวจะท� ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยว เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาเกิด ความรัก ความเข้าใจ ความสมัครสมาน และสามัคคีซึ่งกันและกัน ๔. ด้ านกา รตลาด คือควรมี ความพอประมาณในด้านการตลาดด้วย การจัดการผลิตหรือการให้บริการด้าน การท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้สอดคล้อง กับความต้ องการของตลาด ควรมี เหตุผลด้ วยการระบบนักท่ อง เที่ยว กลุ่มเป้าหมายของแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจน เพื่อจะได้ไม่แย่งลูกค้ากัน หรือจะได้คอย

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=