สำนักราชบัณฑิตยสภา
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 620 การเกษตรผสมผสานบ้ านหนุกและ ใช้พื้นที่ไร่นาสวนผสมของ นายสลิด มุ่งแฝงกลาง เป็นเจ้าของสวนเกษตร ผสมผสาน และเป็นประธานกลุ่มอาชีพ การเกษตรผสมผสาน ซึ่งสวนเกษตรผสม ผสานได้มีการจัดท� ำกลยุทธ์การพัฒนา ด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๕.๑ ด้ านการพัฒนาบุคลากร คือควรรักษาความพอประมาณในการ พัฒนาบุคลากร โดยพัฒนาศักยภาพ ของสมาชิกกลุ่มเกษตรหมู่บ้านหนุก อ� ำเภอขามสะแกแสง ให้รู้จักผลิตสินค้า ทางเกษตรที่ท� ำขึ้นเองเพื่อจัดจ� ำหน่าย ท� ำให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกรสามารถใช้ ชีวิตอย่างพอเพียงและภูมิใจในผลผลิต การสร้างความมีเหตุผล โดยให้สมาชิก กลุ่มเกษตรใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ ผลิตสินค้าต่าง ๆ ที่ท� ำมาจากสมุนไพร และควรวางแผนผลิตก� ำลังคนรุ่นใหม่ให้ สามารถด� ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง เกษตรผสมผสานได้อย่างสร้างสรรค์ ควร เพิ่มการมีภูมิคุ้มกันในการพัฒนาบุคลากร โดยพัฒนาสมาชิกกลุ่ มเกษตรกรให้ ด� ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวผสมผสาน ด้วยการให้นักท่องเที่ยวอนุรักษ์ธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดล้ อมให้ คงสภาพ สมบูรณ์ควรเพิ่มองค์ความรู้ให้แก่สมาชิก กลุ่มเกษตรกรโดยให้หน่วยงานราชการ ในท้องถิ่นให้ความรู้และทักษะการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง และควรรักษาคุณธรรมโดย ให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกรยึดมั่นในหลัก ค� ำสอนของพระพุทธศาสนา การเสียสละ เพื่อส่วนรวม และการจ� ำหน่ายผลผลิต ภายใต้หลักคุณธรรมเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนตลอดไป ๕.๒ ด้านการเงิน คือควรมีความ พอประมาณด้วยการใช้เงินกองกลางของ กลุ่มที่มีอยู่อย่างจ� ำกัดให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ควรมีเหตุผลในด้ านการเงิน ด้วยการจัดท� ำบัญชีของกลุ่มอย่างเป็น ระบบ ควรมีภูมิคุ้มกันด้วยการประกาศ หลักเกณฑ์ในการเพิ่มการขายหุ้นให้ กับสมาชิกของกลุ่ม ควรเพิ่มเติมความรู้ ด้านการเงินให้กับสมาชิกของกลุ่มโดย เฉพาะองค์ความรู้ในด้านของการจัดท� ำ ระบบบัญชี และควรมีคุณธรรมในด้าน การเงิน ด้วยการเปิดเผยข้อมูลทางการ เงินของกลุ่มให้สมาชิกของกลุ่มทุกคน ได้รับทราบข้อมูลอย่างเปิดเผย และ สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถตรวจสอบ ข้อมูลทางการเงินของกลุ่มได้ ๕.๓ ด้านการผลิต คือควรด� ำเนิน การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบพอ ประมาณ ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างเต็มที่ และประยุกต์การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่ให้สอดคล้องกับการท่องเที่ยว เชิงเกษตร ควรด� ำเนินการจัดการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรแบบมีเหตุผลด้วยการ จัดประชุมสมาชิกของกลุ่มเกษตรผสม ผสานอย่างสม�่ ำเสมอ และร่วมกันเสนอ แผนในการพัฒนาด้านการผลิตอย่างเป็น รูปธรรม ควรมีภูมิคุ้มกันด้านการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรด้วยการให้สมาชิกแต่ละ คนได้มีส่วนร่วมในการด� ำเนินงาน ควร เพิ่มเติมองค์ความรู้ด้านการผลิตด้วยการ ให้สมาชิกแต่ละรายค้นคว้าหาความรู้ ด้านการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพิ่มเติม และควรรักษาคุณธรรมในด้าน การผลิตด้ วยการด� ำเนินการผลิตที่มี คุณธรรมเหมือนเดิม ๕.๔ ด้ านการตลาด คือควรมี ความพอประมาณด้วยการด� ำเนินการ ตลาดให้สอดคล้องกับความสามารถใน การผลิตของตนเอง เพราะในปัจจุบัน ความสามารถในด้านการผลิตมีความ หลากหลาย ควรมีความมีเหตุผลด้วยการ ด� ำเนินการตลาดอย่างมีเหตุผล โดยการ ประชาสัมพันธ์ตลาดในกลุ่มเป้าหมาย หลักคือหน่วยงานราชการและนักเรียน/ นักศึกษาที่ต้องการมาศึกษาดูงานด้าน การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ควรมีภูมิคุ้มกัน ในด้านการตลาดด้วยการประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรผ่านหน่วยงาน ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ควรเพิ่มเติมองค์ ความรู้ด้วยการค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ต่าง ๆ การเข้ารับการฝึกอบรมหรือการ ศึกษาดูงาน เพื่อที่จะได้น� ำองค์ความรู้ เหล่านั้นมาใช้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงเกษตรต่อไป และควรรักษาคุณธรรม ด้านการตลาดด้วยการด� ำเนินการตลาด อย่างซื่อสัตย์ ไม่เอารัดเอาเปรียบหรือ ค้าก� ำไรเกินควร ส่วนที่ ๓ ผลการศึกษาการสร้าง เครือข่ ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรใน จังหวัดนครราชสีมา ตามแนวทางของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันน� ำไป สู่การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อย่างยั่งยืน ผู้วิจัยได้ด� ำเนินการจัดเวทีประชุม เพื่อสร้ างเครือข่ ายการท่องเที่ยวเชิง เกษตรระหว่างกัน เพื่อน� ำไปสู่การจัดการ แหล่ งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด นครราชสีมาอย่างยั่งยืน โดยมีกลยุทธ์ ส� ำหรับการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยว เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา ตาม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=