สำนักราชบัณฑิตยสภา
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 616 จังหวัดนครราชสีมา ตามแนวทางของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร จ� ำนวน ๕ อ� ำเภอ คือ ปากช่อง เมืองนครราชสีมา วังน�้ ำเขียว โชคชัย และขามสะแกแสง ด้วยการใช้การส� ำรวจภาคสนาม สัมภาษณ์ เชิงลึก และการจัดเวทีประชุมเป็ น เครื่องมือส� ำหรับการวิจัย โดยขั้นตอน แรกเป็นการเก็บรวบรวมข้ อมูลเพื่อ จัดท� ำระบบข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยว เชิงเกษตรในพื้นที่ ๕ อ� ำเภอดังกล่าว จากนั้นจึงน� ำระบบข้อมูลการท่องเที่ยว เชิงเกษตรที่ได้รับไปใช้ เพื่อก� ำหนด กลยุทธ์เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตรในลักษณะของแต่ละอ� ำเภอ และ เครือข่าย ๕ อ� ำเภอ สุดท้ายคือการจัดท� ำ ตัวชี้วัดความส� ำเร็จและความล้มเหลว ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด นครราชสีมา ตามแนวทางของหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้วิจัยสามารถ สรุปผลของการวิจัย ได้ดังนี้ ส่วนที่ ๑ ผลการศึกษาการจัด ท� ำระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิง เกษตรเพื่อการพัฒนาในพื้นที่จังหวัด นครราชสีมา โดยบูรณาการกับกลไกการ เรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา การจัดท� ำระบบฐานข้อมูลการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีจ� ำนวน ๕ แห่ง ประกอบด้วย ๑) ไร่องุ่น ครูเสน่ห์ อ� ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ๒) สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติ อ� ำเภอ เมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ๓) บุไทรโฮมสเตย์ อ� ำเภอวังน�้ ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา ๔) สวนผักหวานป่า อ� ำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา และ ๕) สวนเกษตรผสมผสาน อ� ำเภอ ขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา โดยระบบฐานข้ อมูลการท่ อง เที่ยว เชิงเกษตร ประกอบด้วยฐานข้อมูลการ ท่องเที่ยว จ� ำนวน๘ประเด็นคือสถานที่ตั้ง ผู้ประกอบการ กิจกรรมการท่องเที่ยว ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการท่องเที่ยว สินค้าของฝากและของที่ระลึก สถานที่ ท่องเที่ยวใกล้เคียง แผนที่การเดินทาง และการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ส่วนที่ ๒ ผลการศึกษาการจัด ท� ำกลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง เกษตรในระดับอ� ำเภอตามแนวทางของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วย กระบวนการแบบมีส่วนร่วมกับภาคีใน พื้นที่ ผู้วิจัยสามารถสรุปกลยุทธ์การ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในแต่ละ แห่งได้ดังต่อไปนี้ ๑. ไร่องุ่นครูเสน่ห์ อ� ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ไร่องุ่นครูเสน่ห์อยู่ที่หมู่ ๗ ต� ำบลกลางดง อ� ำเภอปากช่อง จังหวัด นครราชสีมา โดยผู้ประกอบการชื่อ นายชาญ กิจเพิ่มพูน อายุ ๗o ปี และ นางมาลัย กิจเพิ่มพูน อายุ ๖๘ ปี ซึ่งไร่ ครูเสน่ห์ได้มีการจัดท� ำกลยุทธ์การพัฒนา ต่าง ๆ ดังนี้ ๑.๑ ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ ควรยึดหลักความพอประมาณในการ พัฒนาบุคลากรด้วยการใช้แรงงานภายใน ครอบครัวเป็นหลัก การสร้างความมี เหตุผลในไร่องุ่นครูเสน่ห์โดยเจ้าของไร่ และสมาชิกภายในครอบครัวช่วยกันเรียน รู้วิธีปลูกองุ่น น้อยหน่า แก้วมังกร โดยใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ไม่ใช่ปุ๋ยเคมี เวลาเกิดผลผลิต ออกมาจะได้รับความนิยมและมีชื่อเสียง ควรมีภูมิคุ้มกันในการพัฒนาบุคลากร โดยให้เจ้าของไร่และสมาชิกไร่องุ่นได้ รับการฝึกอบรม ประชุม และสัมมนา อย่างสม�่ ำเสมอ นอกจากนี้ให้สมาชิก ทุกคนช่วยกันดูแล ปรับปรุงภูมิทัศน์ไร่ องุ่นให้สวยงาม สะอาดร่มรื่นอยู่เสมอ ควรเพิ่มองค์ความรู้ให้แก่สมาชิกทุกคน โดยให้หน่วยงานราชการในท้องถิ่น มาแนะน� ำให้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติแก่เจ้าของและสมาชิกไร่องุ่น และควรรักษาคุณธรรมด้านการพัฒนา บุคลากรไว้อย่างต่อเนื่อง โดยการสร้าง จิตส� ำนึกที่ดีในการปลูกผลไม้ ผลไม้ต้อง มีคุณภาพ ปลอดสารพิษ ราคายุติธรรม และสมาชิกทุกคนต้องมีความซื่อสัตย์ ต่อลูกค้า ๑.๒ ด้านการเงิน คือการรักษา ความพอประมาณด้านการเงินด้วยการ ก� ำหนดการใช้จ่ายอย่างรอบคอบ และ ไม่ ก่ อหนี้สิน ควรมีเหตุผลในด้ าน การเงินด้วยการจัดท� ำระบบบัญชีอย่าง เป็นรูปธรรม ควรมีภูมิคุ้มกันในด้าน การเงินด้วยการเดินบัญชีที่ธนาคารอย่าง สม�่ ำเสมอแทนที่จะถือเงินสดไว้ในมือ ควรมีองค์ความรู้ด้านการเงิน โดยเฉพาะ ด้านการน� ำเงินที่เหลืออยู่ไปใช้ในการ ลงทุนเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตนเอง และ ควรรักษาคุณธรรมด้านการเงินไว้เหมือน เดิม ด้วยการใช้จ่ายเงินอย่างประหยัด และคุ้มค่า ๑.๓ ด้านการผลิต คือควรยึดหลัก
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=