สำนักราชบัณฑิตยสภา

สุวิมล ตั้งประเสริฐ 615 วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ เองตามธรรมชาติ เช่น แสงแดด ดิน น�้ ำ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ หรือการจัดการโดย มนุษย์ เช่น เครื่องมือทางการเกษตร ต่าง ๆ เทคโนโลยีการเกษตร ก่อให้เกิด ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออุปโภคบริโภค ซึ่งในที่นี้อาจเรียกทรัพยากรการท่อง เที่ยวเกษตรนี้โดยให้ความหมายคือแหล่ง เกษตรกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อ แหล่งท่องเที่ยว โดยครอบคลุมบทบาท ของพื้นที่ กระบวนการ และกิจกรรม การเกษตร ซึ่งสามารถคัดเลือกน� ำมาใช้ เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวได้ ๒. ตลาดการท่องเที่ยว เนื่องจาก ตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นตลาด การท่องเที่ยวเฉพาะ (Niche market) จึง ท� ำให้การจัดการด้านการตลาดมีลักษณะ ที่เจาะจงเฉพาะกลุ่ม โดยต้องเป็นกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่มีความสนใจกิจกรรมทาง การเกษตร ต้องการที่จะเรียนรู้ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น นักการตลาดจึง จัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ตรงกับความต้องการ ของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้และท� ำการตลาด เจาะจงเฉพาะนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจ ด้านนี้ ๓. บริการการท่องเที่ยว ในด้านนี้ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เช่น ที่พัก (ซึ่งอาจเป็นที่พักค้างคืนกับ ชาวบ้าน หรือที่พักตามเรือกสวนนาไร่) ร้านอาหาร การบริการน� ำเที่ยวให้ความรู้ ต่าง ๆ ส� ำหรับรูปแบบของกิจกรรม การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ร� ำไพพรรณ แก้วสุริยะ (๒๕๔๗: ๑-๒) กล่าวถึงรูปแบบ ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรว่ากิจกรรม หนึ่งในเก้าของอะเมซิ่งไทยแลนด์ ก็คือ การท่องเที่ยวเพื่อไปเยี่ยมชมกิจกรรม การเกษตรกรรมไทย ซึ่งได้แบ่งรูปแบบ การท่องเที่ยวตามความสนใจของนักท่อง เที่ยวได้ ๗ กิจกรรม คือ ๑. การท� ำนา (Rice Cultivation) การท� ำนา การท� ำนาปรัง การท� ำนาหว่าน นาตม การท� ำนาขั้นบันได พิพิธภัณฑ์ข้าว ความรู้เรื่องข้าวสายพันธุ์ต่าง ๆ ประเพณี พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและวัฒนธรรมการ กินข้าวไทย เป็นต้น ๒. การท� ำสวนไม้ตัดดอก (Cutting Flowers) การท� ำสวนไม้ดอกนานาชนิด เพื่อตัดดอกขาย เช่ น สวนกุหลาบ ฟาร์มกล้วยไม้ สวนเบญจมาศ สวนไม้ ดอกไม้ประดับนานาชาติ ไม้กระถาง ทุกประเภท รวมถึงไร่ทานตะวัน ซึ่งเป็น พืชเศรษฐกิจด้วย ๓. การท� ำสวนผลไม้ (Horticul - ture) การท� ำสวนผลไม้ทุกประเภท รวมถึง การท� ำสวนเกษตร การท� ำเกษตรแผนใหม่ การท� ำสวนผสม รวมถึงการท� ำสวนยาง พารา สวนไผ่ สวนปาล์มน�้ ำมันเป็นต้น ๔. การท� ำสวนครัว สวนผัก ไร่ถั่ว ไร่ข้าวโพดข้าวฟ่าง ไร่พริกไทย ไร่สับปะรด บางครั้งรวมถึงพืชไร่ เช่น อ้อย มันส� ำปะหลัง ๕. การท� ำสวนสมุนไพร (Herbs) การปลูกพืชสมุนไพรนานาชนิดเพื่อใช้ เป็นอาหารเสริม พืชผักสวนครัวข้างบ้าน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ เป็นอาหารเสริม เป็นเครื่องส� ำอาง และเพื่อใช้ในการแพทย์ แผนไทย ๖. การท� ำฟาร์มปศุสัตว์ (Animal Farming) การเลี้ยงสัตว์และการขยาย พันธุ์สัตว์เศรษฐกิจนานาชนิด เช่น การ เลี้ยงไหม การท� ำฟาร์มผึ้ง การท� ำฟาร์ม วัว การท� ำฟาร์มปลา ทั้งปลาสวยงาม ปลา น�้ ำจืด ปลาน�้ ำกร่อย การท� ำฟาร์มมุก การ เลี้ยงหอยแมลงภู่ หอยแครง หอยนางรม หอยตะโกรม ฟาร์มจระเข้ ฟาร์มจิ้งหรีด บางแห่งเพาะขายพันธุ์สัตว์ป่าที่หายาก เช่น ฟาร์มกวาง ฟาร์มไก่ฟ้า ฟาร์มนกยูง ฟาร์มนกกระจอกเทศ ๗. งานเทศกาลผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ (Agro-Festival) การจัดงานเพื่อส่งเสริม การขายผลผลิตทางการเกษตร เมื่อถึงฤดู ที่พืชผลเหล่านั้นออกชุก เช่น มหกรรม ไม้ดอกไม้ประดับ งานเทศกาลลิ้นจี่ งาน เทศกาลล� ำไย งานเทศกาลกินปลา กรณีศึกษาการจัดแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาอย่างยั่งยืน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อจัดท� ำระบบฐานข้อมูลการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรเพื่อการพัฒนาในพื้นที่ จังหวัดนครราชสีมา โดยบูรณาการกับ กลไกการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ๒) เพื่อจัดท� ำ กลยุทธ์ การพัฒนาการท่ องเที่ยวเชิง เกษตรในระดับอ� ำเภอตามแนวทางของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้ วย กระบวนการแบบมีส่วนร่วมกับภาคีใน พื้นที่ ๓) เพื่อสร้างเครือข่ายการท่อง เที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา ตามแนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงอันน� ำไปสู่การจัดการแหล่ ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน และ ๔) เพื่อจัดท� ำตัวชี้วัดความส� ำเร็จและความ ล้มเหลวของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรใน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=