สำนักราชบัณฑิตยสภา
สุวิมล ตั้งประเสริฐ 611 วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ จากภาพประกอบ ๑ การจัดการ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายได้ว่าการใช้กระบวนการแบบ มีส่วนร่ วมเพื่อแสวงหาแนวทางและ กระบวนการด� ำเนินงานของกลุ่ มผู้ ประกอบอาชีพการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยน� ำระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยว เชิงเกษตรที่ได้ รับไปใช้ เพื่อก� ำหนด กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จ� ำนวน ๔ ด้านคือ ๑. การพัฒนาบุคลากร ๒. การเงิน ๓. การผลิต ๔. การตลาด ในแต่ละพื้นที่และการสร้างเครือข่ายการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร สุดท้ายคือการจัด ท� ำตัวชี้วัดความส� ำเร็จและความล้มเหลว ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรตามแนวทาง ของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมี รายละเอียดดังนี้ ส่วนที่ ๑ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ส� ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการเนื่องมาจาก พระราชด� ำริ (๒๕๕๐ : ๓) ได้อธิบายถึง การน� ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ในการบริหารกิจการ ไว้ว่า ๑. ความประมาณ คือการด� ำเนิน ธุรกิจโดยยึดหลักความพอดี พอประมาณ ไม่มากเกินไป และพอเพียง ไม่น้อย เกินไป ไม่เบียดเบียนธุรกิจของตนเอง และของผู้อื่น โดยมีการกระจายความ พอดีเป็น ๕ ข้อได้แก่ ด้านจิตใจ สังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ให้ความ ส� ำคัญกับกา รมีผลก� ำ ไรในระดับที่ เหมาะสมและน� ำผลก� ำไรที่เกิดขึ้นไปใช้ ในการพัฒนาด้านอื่น ๆ การเจริญเติบโต ขององค์กรเติบโตอย่างเป็นขั้นเป็นตอน โตขึ้นอยู่กับความสามารถภายในองค์กร มีการพิจารณาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ในกระบวนการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดการ เบียดเบียนทั้งต่อผู้มีส่วนได้ เสียในกิจการ และผู้ มีส่ วนได้ส่ วนเสียนอกกิจการ ส่วนต่าง ๆ รวมทั้งเรื่องการให้บริการ มี การวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากร มนุษย์ที่เหมาะสม มีการบริหารจัดการ ค่าจ้างและสวัสดิการที่เน้นความสมดุล การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ สวนเกษตรผสมผสาน อ� ำเภอขามสะแกแสง จังหวัด นครราชสีมา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=