สำนักราชบัณฑิตยสภา
การจั ดการทรั พยากรน�้ ำของภาครั ฐ 2 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 1 Jan.-Mar. 2012 ๑. ความส� ำคัญของน�้ ำ น�้ ำมีความจ� ำเป็นเพื่อการด� ำรงชีวิต เพื่อกินและใช้ เพื่อการเกษตร เพื่อการผลิต และเพื่อรักษา ระบบนิเวศ น�้ ำเพื่อกินและใช้ ครอบคลุมน�้ ำเพื่อการชะล้าง เพื่อสุขภาพและสันทนาการ เพื่อศาสนกิจ วัฒนธรรม ประเพณี เป็นต้น ส� ำหรับน�้ ำเพื่อการเกษตร ครอบคลุมน�้ ำเพื่อการเพาะปลูก การปศุสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ ำ การอนุรักษ์ดิน เป็นต้น น�้ ำเป็นปัจจัยส� ำคัญส� ำหรับรองรับการผลิตทั้งทางภาคอุตสาหกรรม การผลิตพลังงาน การท่อง เที่ยว ตลอดจนการเดินเรือและการขนส่งทางน�้ ำ สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายต้องการน�้ ำ ดังนั้น น�้ ำจึงมีความจ� ำเป็นส� ำหรับรักษาระบบนิเวศ โดย การหล่อเลี้ยงล� ำน�้ ำ ท� ำหน้าที่เชื่อมโยงระบบนิเวศบกกับทะเล บรรเทาน�้ ำเสีย และช่วยในการควบคุม การรุกตัวของน�้ ำเค็มและการใช้น�้ ำเพื่อลดความรุนแรงของไฟป่า ๒. ที่มาของน�้ ำ พื้นผิวโลกปกคลุมพื้นที่ ๘๔๕ ล้านตารางกิโลเมตร โดยเป็นผิวน�้ ำร้อยละ ๗๐.๘๐ และพื้นที่ผิวดิน ร้อยละ ๒๙.๒๐ ความร้อนจากแสงอาทิตย์ท� ำให้น�้ ำระเหยจากมหาสมุทรขึ้นไปกระทบความเย็นใน ชั้นบรรยากาศเกิดการควบแน่นและกลั่นตัวเป็นฝนตกลงมาบนผิวโลก ฝนที่ตกลงบนพื้นดินไหลลงสู่ทางน�้ ำ กลับลงสู่ทะเล บางส่วนไหลลงสู่ชั้นน�้ ำบาดาล และบางส่วนระเหยกลับขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจากการระเหย โดยตรงจากพื้นดิน และแหล่งน�้ ำบนพื้นดินรวมทั้งการระเหยทางใบของพืช โดยเฉลี่ยฝนตกบนผิวโลกปีละ ๑,๑๗๗ มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ตกบริเวณเขตเส้นศูนย์สูตร ส� ำหรับประเทศไทยซึ่งมีพื้นที่ ๕๑๔,๐๐๘ ตารางกิโลเมตร มีฝนตกเฉลี่ยปีละ ๑,๔๒๖ มิลลิเมตร คิดเป็นปริมาณน�้ ำฝน ๗๓๒,๙๗๕ ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ฝนที่ตกถึงพื้นดินเป็นน�้ ำผิวดิน (น�้ ำท่า) เพียง ๒๑๓,๓๐๓ ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนที่เหลือไหลซึมลงใต้ดินและระเหย ขณะนี้ประเทศไทยเรามีการสร้าง แหล่งเก็บกักน�้ ำไว้ได้ประมาณ ๗๖,๑๓๑ ล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ ๓๕ ของน�้ ำท่าทั้งประเทศ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=