สำนักราชบัณฑิตยสภา

สุขสันต์ หอพิ บูลสุข และคณะ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปี่ที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 57 (๖) ก� ำหนดให้ปัจจัยการปรับราคา (Price escalation) ใช้นโยบายการควบคุมเงินเฟ้อของธนาคาร กลางแห่งประเทศไทยที่ร้อยละ ๓ ในการค� ำนวณ (๗) ราคารับซื้อไฟฟ้าของการไฟฟ้าประกอบด้วยองค์ประกอบ ๒ ส่วน ได้แก่ ค่าไฟฐาน และเงิน อุดหนุนพิเศษ (Adder) ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ การไฟฟ้ารับซื้อไฟในส่วนของ โรงไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (Very small power producer) ที่ใช้พลังน�้ ำเป็นตัวต้นก� ำลังมีราคาที่ ๓.๐ + ๑.๕ = ๔.๕ บาท/ kWh. (๘) ตั้งส� ำรองเผื่อขาดที่ร้อยละ ๕ ของมูลค่าโครงการ ผลการออกแบบโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำก� ำหนดให้อัตราการไหลของน�้ ำที่ไหลเข้ากังหันน�้ ำเพื่อปั่นกระแส ไฟฟ้าที่ ๐.๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ความสูงหัวน�้ ำในการออกแบบ ๒.๘๒ เมตร และความยาวสายส่ง ประมาณ ๙๕ เมตร จะใช้เงินลงทุนทั้งโครงการประมาณ ๗.๖๗ ล้านบาท เมื่อคิดราคาขายไฟเท่ากับ ๔.๕ บาท/กิโลวัตต์ชั่วโมง เมื่อคิดระยะเวลาคืนทุนแบบคิดลด พบว่าโครงการนี้มี B/C ratio เท่ากับ ๐.๓๖ ซึ่ง น้อยกว่า ๑.๐ (ไม่มีความคุ้มค่าต่อการลงทุน) คณะผู้วิจัยได้เสนอโครงการนี้ต่อองค์กรบริหารส่วนต� ำบลวังหมี โดยจะจัดหาผู้ร่วมทุนทั้งในภาค รัฐและเอกชนมาสนับสนุน องค์กรบริหารส่วนต� ำบลวังหมีตอบรับที่จะก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำนี้โดยจะ ตารางที่ ๑ การประมาณราคาค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำ รายการ ราคา (บาท) A: งานท่อส่งน�้ ำ ๑,๒๘๗,๑๕๕ B: งานท่อเหลี่ยม ๒,๐๓๖,๔๒๗ C: งานปากท่อส่งน�้ ำ ๙๘,๗๐๒ D: งาน Control house และ Outlet ๒,๑๓๕,๔๖๔ E: อุปกรณ์ไฟฟ้า-เครื่องกล (เครื่องก� ำเนิดไฟฟ้า ๑๐ กิโลวัตต์) ๗๕๐,๐๐๐ F: ระบบสายส่งและหม้อแปลง ๑,๐๐๐,๐๐๐ G: ส� ำรองเผื่อขาด ๓๖๕,๓๘๗ รวมเงินลงทุนของโครงการ ๗,๖๗๓,๑๓๖

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=