สำนักราชบัณฑิตยสภา
การศึ กษาความเป็นไปได้ของการสร้างโรงผลิ ตกระแสไฟฟ้าพลั งน�้ ำ The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 1 Jan.-Mar. 2012 54 ส� ำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า ผลส� ำรวจพี้นที่บริเวณก่อสร้างพบว่า คลองน�้ ำธรรมชาติที่อยู่ใกล้กับโรงผลิต กระแสไฟฟ้ามีระดับต�่ ำกว่าระดับของโรงผลิตกระแสไฟฟ้า ดังนั้น น�้ ำที่เหลือทิ้งจากการผลิตกระแสไฟฟ้า สามารถไหลเข้าสู่คลองน�้ ำธรรมชาติได้ เงื่อนไขในการออกแบบขนาดท่อส่งน�้ ำเป็นดังนี้ ๑. อัตราการไหลออกแบบ (Designed Q) เท่ากับ ๐.๕๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพื่อให้มีช่วง เวลาในการผลิตกระแสไฟฟ้ามาก และการไหลของน�้ ำในท่อเป็นแบบราบเรียบ ๒. เฮดต้นน�้ ำเท่ากับ ๓.๐ เมตร (ผลต่างของระดับปลายท่อส่งน�้ ำเข้าโรงไฟฟ้า +๓๐๗.๐๐ ม. กับ ระดับน�้ ำเก็บกัก +๓๑๐.๐๐ ม.) เนื่องจากช่วงระยะเวลาการผันน�้ ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจะเป็นช่วงระดับ น�้ ำหน้าฝายมีความสูงที่ระดับสันฝาย +๓๑๐.๐๐ ม. (น�้ ำล้นสันฝาย) เพื่อไม่เกิดผลกระทบกับการใช้น�้ ำเพื่อ การเกษตรกรรม ๓. ความยาวท่อประมาณ ๙๕ เมตร ๔. เลือกท่อผันน�้ ำขนาด ๐.๖ เมตร จากเงื่อนไขการออกแบบ เฮดสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งหมดค� ำนวณได้เท่ากับ ๐.๖๘๒ เมตร ( Chow, ๑๙๖๙) ดังนั้น เฮดที่ปลายท่อ (ส� ำหรับปั่นกระแสไฟฟ้า) เท่ากับ H = 310.50 - 307.0 - 0.682 = 2.818 เมตร เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพของกังหันเท่ากับ ๐.๗ พลังงานไฟฟ้าที่สามารถผลิตได้เท่ากับ P = ηγ QH =10 กิโลวัตต์ รูปแบบอาคารส่งน�้ ำและโรงไฟฟ้าพลังงานน�้ ำแสดงดังรูปที่ ๓ รูปที่ ๒ รูปตัดของอาคารส่งน�้ ำเข้า Power house
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=