สำนักราชบัณฑิตยสภา

สุขสันต์ หอพิ บูลสุข และคณะ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปี่ที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 53 ๒. ข้อมูลน�้ ำท่า เนื่องจากฝายที่ก่อสร้างโดยกรมชลประทานมีความสูงไม่มากนัก (น้อยกว่า ๓ เมตร) และมีความ จุของน�้ ำหลังฝายในปริมาณไม่สูง การผลิตกระแสไฟฟ้าจึงท� ำได้เฉพาะในช่วงที่น�้ ำไหลล้นสันฝาย โดยอัตรา การไหลของน�้ ำที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าสามารถประมาณได้จากโค้งอัตราการไหล-ช่วงเวลา (Flow duration curve) รูปที่ ๑ แสดงโค้งอัตราการไหล-ช่วงเวลาสร้างขึ้นจากข้อมูลน�้ ำท่าที่วัดจากสถานีวัดน�้ ำท่าที่ อยู่ใกล้พื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำ ข้อมูลน�้ ำท่าที่ใช้เป็นข้อมูลรายวันตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ อัตราเร็วของน�้ ำที่สูง (เกินกว่า ๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) มีโอกาส การเกิดน้อยมาก (ประมาณร้อยละ ๑๒) หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การไหลของน�้ ำในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่มี อัตราการไหลต�่ ำกว่า ๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อัตราการไหลที่สูงจะเกิดเฉพาะในฤดูน�้ ำหลาก และเกิด ขึ้นอย่างฉับพลัน (เกิดขึ้นในเวลาสั้น) ๓. โรงไฟฟ้าพลังงานน�้ ำ รูปที่ ๒ แสดงรูปตัดอาคารส่งน�้ ำเข้าโรงผลิตกระแสไฟฟ้า จะเห็นได้ว่าระดับปลายท่อส่งน�้ ำเข้าสู่ โรงไฟฟ้าถูกก� ำหนดให้อยู่ต�่ ำกว่าระดับฐานรากของฝาย (ระดับ +๓๐๗.๐๐) เพื่อให้มีระดับเฮดน�้ ำสูงพอ รูปที่ ๑ โค้งอัตราการไหล-ช่วงเวลา

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=