สำนักราชบัณฑิตยสภา

วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 45 ปริ ญญา จิ นดาประเสริ ฐ และคณะ ๓.๒ การวิเคราะห์ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าด้วยข้อมูล GIS และข้อมูลพื้นฐานอื่น ๆ งาน ศึกษาวิจัยนี้ได้ข้อมูลน�้ ำท่าและอัตราการไหล ข้อมูลพื้นฐานของอ่างเก็บน�้ ำต่าง ๆ ฝาย เขื่อน และข้อมูล GIS จากแผนที่มาตราส่วน ๑: ๕๐๐๐๐ ชุด L7018 น� ำมาวิเคราะห์ร่วมกับแบบจ� ำลองความสูง ความละเอียด ๓๐ เมตรจากกรมแผนที่ทหารเพื่อออกแบบแนวท่อที่มีความสูงหัวน�้ ำมากที่สุด โดยได้จ� ำแนกการศึกษา ศักยภาพฯ ของลุ่มน�้ ำชีออกเป็น ๔ ประเภทดังนี้ (๑) โครงการศักยภาพอ่างเก็บน�้ ำ (๒) โครงการศักยภาพ ตามแนวล� ำน�้ ำ (๓) โครงการศักยภาพฝาย และ (๔) โครงการศักยภาพเขื่อน ๓.๓ การวิเคราะห์การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (multi-criteria decision making, MCDM) คณะผู้เชี่ยวชาญหลากสาขาได้จัดล� ำดับความส� ำคัญของโครงการที่มีศักยภาพด้วยใช้การ MCDM ซึ่งพิจารณาถึงข้อเด่นและข้อด้อยในการพัฒนาโครงการน� ำร่องโดยผู้เชี่ยวชาญ ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านวิศวกรรม ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจสังคม และด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ๔. ผลการวิจัยและวิจารณ์ ๔.๑ ผลการคัดเลือกโครงการน� ำร่อง จากการประเมินศักยภาพฯ (รูปที่ ๑) พบว่า โครงการที่ มีศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้ามากกว่า ๕ kW มีรายละเอียดดังนี้ (ศูนย์วิจัยและพัฒนาโครงสร้าง มูลฐานอย่างยั่งยืน, ๒๕๕๒) (๑) การศึกษาศักยภาพอ่างเก็บน�้ ำ มีจ� ำนวน ๒๗ โครงการ ศักยภาพในการผลิตสูงสุด ๑๓๑.๑๘ kW ต�่ ำสุด ๕.๗๓ kW มีก� ำลังผลิตรวม ๗๓๕.๕๔ kW ผลิตไฟฟ้าได้ปีละ ๒.๖๕ GWh และต้นทุน หน่วยละ ๘.๗๒ บาท (๒) การศึกษาศักยภาพล� ำน�้ ำ จ� ำนวน ๓๖ โครงการ ศักยภาพฯสูงสุด ๑,๐๔๔.๕๒ kW ต�่ ำสุด ๕.๘๗ kW ก� ำลังผลิตรวม ๖,๖๔๓.๘๘ kW ผลิตไฟฟ้าปีละ ๒๓.๙๒ GWh และต้นทุนหน่วยละ ๘.๙๒ บาท (๓) การศึกษาศักยภาพฝายกั้นล� ำน�้ ำชีสายหลัก (ฝายชนบท ฝายคุยเชือก ฝายวังยาง ฝายร้อยเอ็ด ฝายยโสธร และฝายธาตุน้อย) ศักยภาพฯสูงสุดเท่ากับ ๒,๙๘๕.๕๐ kW ต�่ ำสุด ๒๐๖.๖๐ kW ก� ำลังผลิตรวม ๒๓ MW ผลิตไฟฟ้าปีละ ๓๘.๐๕ GWh และต้นทุนหน่วยละ ๒๙.๒๘ บาท (๔) โครงการศึกษาศักยภาพเขื่อน (เขื่อนล� ำปาว) ก� ำลังผลิต ๕.๐๒๖ MW ผลิตไฟฟ้าปีละ ๑๘.๐๙ GWh และต้นทุนหน่วยละ ๐.๐๘ บาท

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=