สำนักราชบัณฑิตยสภา

การใช้ระบบภูมิ สารสนเทศและการตั ดสิ นใจแบบหลายหลั กเกณฑ์ 44 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 1 Jan.-Mar. 2012 E = 9.8l η QH ๑. ความเป็นมาและความส� ำคัญของปัญหา ในภาวการณ์ปัจจุบันที่ทุกประเทศทั่วโลกก� ำลังเผชิญอยู่กับวิฤตด้านพลังงาน การสรรหาแหล่ง พลังงานใหม่ ๆ อย่างเช่นพลังงานหมุนเวียนในการผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ เพื่อช่วยบรรเทาปัญหา ดังกล่าวเป็นสิ่งจ� ำเป็นและเร่งด่วน พลังงานน�้ ำเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่เป็นพลังงานสะอาดมีการ ปล่อยแก๊สเรือนกระจกน้อยมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานน�้ ำขนาดเล็กมาก (micro hydropower) ทั้งนี้ เนื่องมาจากพลังงานน�้ ำขนาดเล็กสามารถพัฒนาและด� ำเนินการได้ง่ายภายในระยะเวลาอันสั้นโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชนในท้องถิ่น รวมทั้งเป็นแหล่งผลิตพลังงานระดับท้องถิ่นให้กับพื้นที่ที่มีความต้องการ ไฟฟ้าโดยตรงและยังสามารถเป็นแหล่งพลังงานเสริมให้กับระบบไฟฟ้าหลักของประเทศได้ด้วย ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้จึงได้มีการบูรณาการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และกระบวนการตัดสินใจแบบหลาย หลักเกณฑ์ร่วมกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดเลือกพื้นที่ที่ควรจะพัฒนาเป็นโครงการน� ำร่อง โดย ได้เลือกท� ำการประเมินศักยภาพในการติดตั้งโรงไฟฟ้าพลังน�้ ำของลุ่มน�้ ำชีซึ่งเป็นลุ่มน�้ ำที่ส� ำคัญส� ำหรับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเพราะมีลักษณะภูมิประเทศที่หลากหลายรวมถึงเป็นที่ตั้งแหล่งน�้ ำต่าง ๆ จ� ำนวนมากอาทิ เขื่อนล� ำปาว ฝายต่าง ๆ ล� ำน�้ ำสาขาจ� ำนวนมาก อ่างเก็บน�้ ำจ� ำนวนมากที่กระจายอยู่ทั่ว ทั้งลุ่มน�้ ำ ๒. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน�้ ำของล� ำน�้ ำและแหล่งน�้ ำที่มีอยู่ในลุ่มน�้ ำชีโดยใช้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ [geographic information systems, (GIS)] และจัดล� ำดับความส� ำคัญในการ พัฒนาเป็นโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานน�้ ำขนาดเล็กส� ำหรับชุมชนน� ำร่องโดยใช้หลักการตัดสินใจแบบหลาย หลักเกณฑ์ [multi-criteria decision making, (MCDM)] ที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ๓. วิธีการด� ำเนินการวิจัย ๓.๑ การประเมินศักยภาพในการผลิตไฟฟ้า ศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้า สามารถค� ำนวณ ได้จาก (๑) โดยที่ E = ศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้า (kW); η = ประสิทธิภาพรวมของโรงไฟฟ้า เป็นร้อยละ ๗๕ Q = อัตราการไหลที่ป้อนเข้าสู่โรงไฟฟ้า (m 3 /s); H = ความสูงหัวน�้ ำสุทธิ (m)

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=