สำนักราชบัณฑิตยสภา

วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ 1 ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ การใช้ระบบภูมิสารสนเทศและการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ เพื่อการประเมินศักยภาพลุ่มน�้ ำชีในการผลิตกระแสไฟฟ้า ด้วยพลังน�้ ำขนาดเล็กมาก ปริญญา จินดาประเสริฐ ๑ , กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย ๑ , ชาติชาย ไวยสุระสิงห์ ๑ *, วินัย ศรีอัมพร ๑ , ศุภชัย ปทุมนากูล ๑ , สินี ช่วงฉ�่ ำ ๒ , ดิรก สาระวดี ๒ และ สุดารัตน์ ค� ำปลิว ๓ *Corresponding author’s E-mail: fcecws@kku.ac.th ๑ ศูนย์วิจัยโครงสร้างมูลฐานอย่างยั่งยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทรศัพท์ ๐ ๔๓๒๐ ๒๓๕๕, ๒ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๓ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม บทคัดย่อ ในช่วงระยะเวลา ๑๐ ปี ที่ผ่านมาสถานการณ์การขาดแคลนพลังงานของโลกได้ทวีความรุนแรง มากขึ้น การค้นหาแหล่งพลังงานใหม่เพื่อบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นสิ่งจ� ำเป็นและ เร่งด่วน หนึ่งในแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่น่าสนใจอย่างเช่นพลังน�้ ำขนาดเล็กมากที่สะดวกต่อการ พัฒนาและง่ายในการด� ำเนินการได้กลายเป็นแหล่งพลังงานส� ำคัญที่น่าศึกษาแหล่งหนึ่ง การศึกษานี้ จึงได้ท� ำการประเมินศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน�้ ำขนาดเล็กมาก (Micro Hydropower) ใน พื้นที่ลุ่มน�้ ำชี โดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศร่วมกับกระบวนการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์พบว่า พื้นที่ที่สามารถให้ก� ำลังผลิตติดตั้งได้มากกว่า ๕ kW มีทั้งสิ้น ๗๐ แหล่งโดยมีก� ำลังผลิตรวม ๒๓ MW แบ่งเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ (๑) โครงการศักยภาพอ่างเก็บน�้ ำ ๒๗ โครงการ (๒) โครงการศักยภาพตามแนว ล� ำน�้ ำ ๓๖ แหล่ง (๓) โครงการศักยภาพฝาย ๖ โครงการ และ (๔) โครงการศักยภาพเขื่อน ๑ โครงการ พื้นที่เหล่านี้ได้ถูกน� ำมาจัดล� ำดับความส� ำคัญด้วยใช้การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ซึ่งพิจารณา ถึงข้อเด่นและข้อด้อยในการพัฒนาโครงการน� ำร่องโดยผู้เชี่ยวชาญ ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านวิศวกรรม ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจสังคม และด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ผลลัพธ์ ที่ได้จากการจัดล� ำดับความส� ำคัญโครงการได้คัดเลือกโครงการชีลอง ๔ มาพัฒนาเป็นโครงการ โรงไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กมากส� ำหรับชุมชนน� ำร่องในพื้นที่ลุ่มน�้ ำชี ค� ำส� ำคัญ : ลุ่มน�้ ำชี, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์, ไฟฟ้าพลังน�้ ำ ขนาดเล็กมาก

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=