สำนักราชบัณฑิตยสภา

สมภพ สุจริ ต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปี่ที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 35 ไฟฟ้าพลังน�้ ำ จากสมการพื้นฐานของพลังงาน : โดย : P = พลังงาน (กิโลวัตต์) η = ค่าประสิทธิภาพการผลิต ρ = ความหนาแน่นของน�้ ำ (๑ ตัน/ลูกบาศก์เมตร) g = ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (๙.๘๑ เมตร/วินาที ๒ ) Q = ปริมาณการไหลของน�้ ำ (ลูกบาศก์เมตร/วินาที) H = ความแตกต่างของระดับน�้ ำ ด้านเหนือและท้ายเขื่อน (เมตร) จะเห็นว่าตัวแปร Q และ H คือปัจจัยในการผลิตพลังงานซึ่งท� ำให้ผลพลอยได้ในการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าท้ายเขื่อนชลประทานสามารถแบ่งได้เป็น ๒ ลักษณะดังนี้คือ ๑. พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตโดยเขื่อนกักเก็บน�้ ำ ที่มีความแตกต่างของระดับน�้ ำหรือความต่างศักย์ ( H ) สูง จะสามารถผลิตพลังงานได้ด้วยปริมาณการไหล ( Q ) เพียงเล็กน้อย (อาศัยพลังงานศักย์) ๒. พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตโดยเขื่อนทดน�้ ำ/ระบายน�้ ำ ที่มีความแตกต่างของระดับน�้ ำหรือความต่าง ศักย์ ( H ) ต�่ ำ แต่มีปริมาณการไหล ( Q ) มาก (อาศัยพลังงานจลน์) ภาพแสดงลักษณะโรงไฟฟ้าพลังงานน�้ ำจากเขื่อนกักเก็บน�้ ำ ที่มา (http://std.kku.ac.th/4630400448/therm02/assign.html )

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=