สำนักราชบัณฑิตยสภา
สมภพ สุจริ ต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปี่ที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 33 เขื่อนของกรมชลประทาน การพัฒนาแหล่งน�้ ำเป็นภารกิจประการหนึ่งของกรมชลประทาน ซึ่งจนถึงปัจจุบันกรมชลประทาน ได้ด� ำเนินการก่อสร้างเขื่อนเพื่อกักเก็บเป็นอ่างเก็บน�้ ำจ� ำนวนกว่า ๕,๐๐๐ แห่ง กระจายอยู่ทั่วประเทศ ใน จ� ำนวนนี้เป็นอ่างเก็บน�้ ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาณน�้ ำกักเก็บมากกว่า ๑๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร จ� ำนวน ๒๓ แห่ง และเป็นอ่างเก็บน�้ ำขนาดกลางที่มีปริมาณน�้ ำกักเก็บน้อยกว่า ๑๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร อีก ๔๕๐ แห่งที่อยู่ ในความรับผิดชอบของกรมชลประทาน ที่เหลือเป็นอ่างเก็บน�้ ำขนาดเล็กที่ได้ท� ำการถ่ายโอนให้กับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) นอกจากนี้ยังมีเขื่อนทดน�้ ำและเขื่อนระบายน�้ ำที่ก่อสร้างไว้ในบริเวณที่ราบ และที่ลุ่มเพื่อการชลประทานอีก ๒๑ แห่ง เช่น เขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนนเรศวร เขื่อนแม่กลอง ไฟฟ้าพลังน�้ ำ : ผลพลอยได้จากเขื่อนชลประทาน ตัวอย่างเขื่อนกักเก็บน�้ ำขนาดใหญ่ของกรมชลประทาน เขื่อนกิ่วลม จ.ล� ำปาง เขื่อนขุนด่านปราการชล จ.นครนายก เขื่อนแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี สมภพ สุจริต ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมชลประทาน กรมชลประทาน/กรรมการตรวจสอบทางวิชาการส� ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=