สำนักราชบัณฑิตยสภา
วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 29 ภั สสร เวี ยงเกตุ ๔.๓ โครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ ำขนาดเล็กมากของส� ำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ (วช.) เนื่องจากประเทศไทยมีลุ่มน�้ ำที่ส� ำคัญอยู่ทั้งหมด ๒๕ ลุ่มน�้ ำ วช. ได้พิจารณาให้ให้ทุน วิจัยเรื่องโครงการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ ำขนาดเล็กมาก วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อหาศักยภาพในการพัฒนาไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กที่มีก� ำลังผลิต มากกว่า ๑๐๐ กิโลวัตต์ และศึกษาข้อเด่นข้อด้อยของโครงการที่จะพัฒนาในทั้งด้านการผลิตไฟฟ้า ด้านวิศวกรรมและเศรษฐศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ตลอดจนจัดล� ำดับความส� ำคัญของโครงการในภาพรวม ในลุ่มน�้ ำ ปิง วัง ยม ชี มูล และแม่น�้ ำแควน้อยมา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๓ รวม ๖ โครงการสรุปได้ดังนี้ ๑. ลุ่มน�้ ำปิง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นหน่วยงานที่ได้รับทุนวิจัยในปี ๒๕๔๙ จากการศึกษาวิจัย พบว่าโครงการที่มีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้ามีทั้งหมด ๔๖ โครงการ คิดเป็นก� ำลังผลิตประมาณ ๑๖๖ เมกะวัตต์ ได้พลังงานไฟฟ้าปีละประมาณ ๔๖๙ ล้านหน่วย มีต้นทุนการผลิตระหว่าง ๐.๘๓-๑๑.๓๒ บาท/ หน่วย ขึ้นอยู่กับเวลาที่ผลิตได้ในรอบปี ๒. ลุ่มน�้ ำยม มหาวิทยาลัยนเศวรเป็นหน่วยงานที่ได้รับทุนวิจัยในปี ๒๕๕๐ จากการศึกษา วิจัยพบว่าโครงการที่มีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้ามีทั้งหมด ๔๘ โครงการ คิดเป็นก� ำลังผลิตประมาณ ๒๖ เมกะวัตต์ ได้พลังงานไฟฟ้าปีละประมาณ ๑๑๐ ล้านหน่วย มีต้นทุนการผลิตระหว่าง ๐.๖๐-๑๗ บาท/ หน่วย ขึ้นอยู่กับเวลาที่ผลิตได้ในรอบปี ๑. แม่น�้ ำออน อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ ๗๒ ๐.๔๓ ๗.๗๒ ๒. แม่น�้ ำลิด อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ ๑๔๐ ๐.๖๖ ๑๒.๓๙ ๓. แม่น�้ ำคงคา อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ๗๐ ๐.๓๘ ๙.๑๔ ๔. แม่น�้ ำวาง อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ๑๔๘ ๐.๖๒ ๑๒.๖๓ ๕. ห้วยแม่สวรรค์ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ๖๒ ๐.๓๑ ๘.๕๓ ๖. น�้ ำพัน อ.สองแคว จ.น่าน ๙๖ ๐.๔๓ ๑๒.๕๕ ๗. ห้วยแม่ตาวแง่ซ้าย อ.แม่สอด จ.ตาก ๑๖๔ ๐.๙๙ ๑๓.๐๘ ๘. ห้วยบ้านช่องแคบ อ.พบพระ จ.ตาก ๑๓๔ ๐.๘๐ ๑๑.๑๓ ๙. คลองพิต� ำ อ.นบพิต� ำ จ.นครศรีธรรมราช ๑๐๔ ๐.๕๔ ๑๔.๘๔ ๑๐. บ้านบางกัน อ.เมือง จ.พังงา ๑๓๘ ๐.๖๘ ๑๑.๕๗ รวม ๑,๑๒๘ ๕.๘๔ ๑๑๓.๕๘ โรงไฟฟ้า ที่ตั้ง ก� ำลังผลิต (kW) ล้านหน่วยต่อปี มูลค่า (ล้านบาท)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=