สำนักราชบัณฑิตยสภา
15 ธนพร สุปริ ยศิ ลป์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ กลุ่มที่ ๕ โครงการพัฒนาแหล่งน�้ ำที่อยู่ในแผนของหน่วยงาน ในการศึกษานี้ได้รวบรวมโครงการ ที่อยู่ในแผนของทั้งกรมชลประทานและกรมทรัพยากรน�้ ำ การวิเคราะห์โครงการในกลุ่มนี้ได้วิเคราะห์ใน ลักษณะที่หากมีการเพิ่มองค์ประกอบเพื่อการผลิตไฟฟ้าแล้ว โครงการพัฒนาแหล่งน�้ ำที่อยู่ในแผนเหล่านี้ จะมีศักยภาพด้านการผลิตไฟฟ้าเท่าใด การพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการแบบนี้ จะท� ำให้โครงการที่จะเกิด ขึ้นในอนาคตเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านการพัฒนาแหล่งน�้ ำและแหล่งพลังงาน ตลอดจนเป็นการบูรณา การและต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับแผนงานหรือแผนพัฒนาโครงการขององค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลุ่มที่ ๖ โครงการที่เลือกจุดใหม่เพิ่มเติมจากล� ำน�้ ำสาขา (major tributaries) โครงการในกลุ่มนี้ เป็นโครงการที่จะต้องพิจารณาในการเลือกช่วงล� ำน�้ ำตลอดจนต� ำแหน่งที่จะพัฒนาโครงการขึ้นมาใหม่ การ พิจารณาที่ตั้งโครงการ จะพิจารณาจากลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมโดยพิจารณาในพื้นที่ล� ำน�้ ำสาขาที่ มีศักยภาพสูงในแง่ความสูงหัวน�้ ำ (head) ทั้งนี้ได้แสดงที่ตั้งโครงการที่มีศักยภาพในพื้นที่ลุ่มน�้ ำปิงและวัง จ� ำแนกตามกลุ่มโครงการในรูปที่ ๑ โดยโครงการเหล่านี้จะอยู่ในเขตพื้นที่ป่า ๖ ประเภท ได้แก่ I ) พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน�้ ำ 1 A และ 1 B II ) พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C ) III ) เขตอุทยานแห่งชาติ IV ) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า V ) เขตป่าสงวนแห่ง ชาติ และ IV ) พื้นที่ป่าตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช ๒๔๘๔
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=