สำนักราชบัณฑิตยสภา
วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ การจัดการทรัพยากรน�้ ำกับกฎหมายป่าไม้ ธนพร สุปริยศิลป์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่/หน่วยวิจัยการจัดการทรัพยากร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ บทคัดย่อ น�้ ำเป็นทรัพยากรที่ส� ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การใช้น�้ ำอย่างประหยัดและคุ้มค่าจึงเป็น สิ่งที่จ� ำเป็น การพัฒนาแหล่งน�้ ำควรท� ำควบคู่ไปกับการพัฒนาพลังงาน โดยเฉพาะการพัฒนาไฟฟ้า พลังน�้ ำขนาดเล็ก ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก จากการวิจัยพบว่า พื้นที่ลุ่มน�้ ำทาง ภาคเหนือมีโครงการที่มีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็กอยู่หลายแห่ง แต่ส่วนใหญ่จะตั้ง อยู่ในเขตพื้นที่ป่าประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีระเบียบข้อบังคับและข้อจ� ำกัดในการด� ำเนินการที่แตกต่างกัน เมื่อได้รวบรวม ประมวล และวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการแล้วพบว่า แม้ว่า การพัฒนาพลังงานน�้ ำจะมีความส� ำคัญแต่กฎหมายด้านพื้นที่ก็ยังเป็นสิ่งจ� ำเป็นที่ควรจะคงอยู่ การ พิจารณาข้อยกเว้นต่าง ๆ ควรท� ำเป็นรายกรณี รายโครงการ และหากจะมีการอนุญาตให้พัฒนา โครงการในพื้นที่ป่า ควรมีการศึกษาเพื่อก� ำหนดมาตรการในการดูแลและบริหารจัดการเหมาะสม นอกจากนี้จากการวิเคราะห์พบว่า โครงการในกลุ่มที่เป็นการติดตั้งองค์ประกอบเพื่อการผลิตไฟฟ้า ในโครงการชลประทานที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ เป็นกลุ่มที่เหมาะสมกับการพัฒนาไฟฟ้าพลังน�้ ำมากที่สุด ค� ำส� ำคัญ : การผลิตไฟฟ้าพลังน�้ ำ, การพัฒนาแหล่งน�้ ำ, ระเบียบข้อบังคับและข้อจ� ำกัด, เขตพื้นที่ป่า น�้ ำเป็นทรัพยากรที่ส� ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การใช้น�้ ำอย่างประหยัดและคุ้มค่าจึงเป็นสิ่งที่ จ� ำเป็น ตัวอย่างหนึ่งของการใช้น�้ ำอย่างคุ้มค่าคือการพัฒนาแหล่งน�้ ำควบคู่ไปกับการพัฒนาพลังงาน โดย เฉพาะการพัฒนาไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็ก เนื่องจากการพัฒนาไฟฟ้าพลังน�้ ำขนาดเล็ก ก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก นอกจากนี้เทคโนโลยีพลังน�้ ำขนาดเล็กยังเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อนและสามารถ ผลิตขึ้นได้เองในประเทศเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม จากผลการศึกษาด้านศักยภาพการผลิตไฟฟ้าพลังน�้ ำ ขนาดเล็กในพื้นที่ลุ่มน�้ ำทางภาคเหนือ โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มน�้ ำปิงและวัง โดยธนพรและคณะ (๒๕๕๐ และ ๒๕๕๓) พบว่ามีโครงการที่มีศักยภาพหลายแห่ง อย่างไรก็ตามโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ ในเขตพื้นที่ป่าประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีระเบียบข้อบังคับและข้อจ� ำกัดในการด� ำเนินการที่แตกต่างกัน (ธนพร และคณะ ๒๕๕๑ และ ๒๕๕๓)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=