สำนักราชบัณฑิตยสภา
วัลลภ สุระก� ำพลธร วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 181 (ค) วงจร CCII ของ Ryszard Wojtyna [๓๔] (ง) วงจรของ Palmisano และ Palumbo [๓๕] (จ) วงจรของ Elwan และ Soliman [๓๗] (ฉ) วงจรของ Wessam Hassanein และคณะ [๓๙] รูปที่ ๔ วงจรสายพานกระแสต่อยอดจากวงจรสายพานกระแสรูป 5(ก) ส� ำหรับวงจร CCII รูป ๔ (ค) Wojtyna ได้ปรับปรุงจากวงจรรูป ๓ (ก) โดยเพิ่มวงจรสะท้อนกระแส เข้าไป แต่สลับด้านเข้าที่ด้านบนของวงจรดิฟแอมป์ เพื่อให้กระแสที่ไหลผ่านทรานซิสเตอร์ ๒ ด้านของ ดิฟแอมป์เท่ากันมากขึ้น และพัฒนาให้วงจรท� ำงานโดยใช้แรงดันไฟฟ้าจ่ายต�่ ำ ± ๓ โวลต์ได้ [๓๔] ใน ค.ศ. ๑๙๙๕ Palmisano และ Palumbo ได้เสนอ วงจร CCII รูปที่ ๔ (ง) [๓๕] วงจรนี้ ( M 3 และ M 7) และ M 5 ท� ำหน้าที่ เป็นวงจรจ่ายกระแสคงตัวเพื่อจ่ายกระแส I B และ 2 I B ตามล� ำดับ โดยออกแบบให้ด้าน M 1 ของดิฟแอมป์ ถูกป้อนด้วยกระแสคงตัว I B จาก M 3 ส่วนอีกด้านมีวงจรคอมมอนซอร์ส M 4 ป้อนกลับมายัง M 2 ที่มีการ ป้อนกลับแบบรอบตัว ผลนี้ท� ำให้กระแสไหลผ่าน M 1 และ M 2 หรือ I D 1 = I D 2 เท่ากัน ท� ำให้ V X = V Y และเนื่องจาก M 4 และ M 6 ซึ่งต่อเป็นแบบคอมมอนซอร์สมีความเทียบเคียงกัน เพื่อท� ำให้กระแสที่พอร์ต X ถูกส่งผ่านไปยังพอร์ต Z เป็น i Z = i X มีข้อสังเกตว่า วงจรนี้ใช้จ� ำนวนทรานซิสเตอร์น้อยกว่าวงจรที่ผ่านมา ต่อมา W . Chiu และคณะได้พัฒนาเป็นวงจรสายพานกระแสไฟฟ้าแบบผลต่างแรงดันไฟฟ้า DDCCII ( differential difference current conveyor ) โดยน� ำโครงสร้างวงจรสายพานกระแสรูปที่ ๓ (ก) ไปพัฒนา ต่อยอด [๓๖]
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=