สำนักราชบัณฑิตยสภา
พั ฒนาการของวงจรสายพานกระแสที่ ใช้ดิ ฟแอมป์เป็นฐาน The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 1 Jan.-Mar. 2012 178 การท� ำงานของวงจรอธิบายได้ดังนี้ ทรานซิสเตอร์ M 1, M 2 และแหล่งก� ำเนิดกระแส I B 1 ( M 8) ต่อ เป็นวงจรดิฟแอมป์ เพื่อท� ำหน้าที่เป็นวงจรถ่ายโอนแรงดันที่พอร์ต X ให้เท่ากับค่าแรงดันที่พอร์ต Y โดยที่ M 3 และ M 4 ต่อกันเป็นวงจรสะท้อนกระแสเพื่อบังคับให้กระแสเดรนของ M 1 และ M 2 เท่ากัน ดังนั้นจึง ท� ำให้ V GS 1 = V GS 2 และเป็นผลท� ำให้ V X = VY และ เนื่องจากจุดสัญญาณเข้าที่พอร์ต Y เป็นขาเกตของ ทรานซิสเตอร์ ท� ำให้ที่พอร์ตนี้กระแสไหลเข้า i Y = 0 และมีความต้านทานจุดสัญญาณเข้าสูงมาก M 5 ท� ำ หน้าที่เป็นตัวถ่ายโอนกระแส ท� ำให้ค่ากระแสเดรนและกระแสซอร์สของ M 5 เท่ากัน หรือ I S 5 = I D 5 และ เนื่องจาก M 2, M 4 และ M 5 ต่อกันเป็นวงจรป้อนกลับเพื่อให้ความต้านทานจุดสัญญาณเข้าที่พอร์ต X มี ค่าต�่ ำ หรือ เป็นจุดที่กระแสสัญญาณ i X เข้าผ่านพอร์ต X ได้ดี ถ้าให้ g mi และ g di แทนค่าอัตราขยายความ น� ำส่งผ่าน ( transconductance gain ) และค่าความน� ำเดรน ( drain conductance ) ของทรานซิสเตอร์ตัวที่ i ตามล� ำดับ r X แทนความต้านทานจุดสัญญาณเข้าที่พอร์ต X และ r Z แทนความต้านทานจุดสัญญาณ ออกที่พอร์ต Z จากผลการศึกษาในบทความ [๗] ได้สมบัติของวงจรดังนี้ V Y = 0.993 V X , i Z = 1.0037 i X r x = 5.9 Ω และมีความกว้างแถบความถี่ ( bandwidth ) ประมาณ ๖๖ MHz ซึ่งถือได้ว่ามีคุณภาพดี และให้ ผลใกล้เคียงกับสมบัติทางทฤษฎีตามสมการ (๒) พอสมควร ข้อเด่นของวงจรสายพานกระแสรูปที่ ๓ (ก) (ง) Multiple Outputs CCII [๒๗-๒๙] รูปที่ ๓ วงจรสายพานกระแสแบบ Surakampontorn และคณะ และการต่อยอด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=