สำนักราชบัณฑิตยสภา
การจั ดการทรั พยากรน�้ ำของภาครั ฐ 8 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 1 Jan.-Mar. 2012 ๗. การบริหารจัดการน�้ ำแบบบูรณาการ แนวทางการบริหารจัดการน�้ ำแบบบูรณาการ ประกอบด้วย ๑. การบริหารจัดการทรัพยากรน�้ ำ และทรัพยากรอื่นที่เกี่ยวข้องเป็นระบบลุ่มน�้ ำ ๒. เน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ลุ่มน�้ ำ โดยชี้เป้าของปัญหาและมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจ ๓. ประสานแผนปฏิบัติการระหว่างหน่วยงานในพื้นที่เดียวกัน ๘. มาตรการที่ส� ำคัญส� ำหรับการบริหารจัดการน�้ ำแบบบูรณาการ ๑. การฟื้นฟูพื้นที่ต้นน�้ ำ ๒. การปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน�้ ำ ๓. การบริหารจัดการและการจัดสรรการใช้น�้ ำ ๔. การจัดการคุณภาพน�้ ำและสิ่งแวดล้อม ๕. การจัดการพื้นที่ปากแม่น�้ ำและชายฝั่ง ๖. การสนับสนุนองค์กรและกลไกในการจัดการลุ่มน�้ ำ ๙. การบริหารจัดการน�้ ำระหว่างประเทศ ในโลกนี้มีลุ่มน�้ ำที่ไหลผ่านระหว่างประเทศถึง ๒๖๓ ลุ่มน�้ ำ ครอบคลุมร้อยละ ๕๐ ของพื้นที่ ผิวโลก ๑๕๘ ลุ่มน�้ ำ ไม่มีการตกลงใด ๆ ในการใช้น�้ ำข้ามพรมแดน ซึ่งจะท� ำให้เป็นปัญหาในการน� ำน�้ ำมา ใช้ให้เต็มศักยภาพ ส� ำหรับประเทศไทย มีลุ่มน�้ ำพรมแดนที่ส� ำคัญคือลุ่มน�้ ำโขงที่กั้นพรมแดนไทย-ลาว ลุ่มน�้ ำสาละวิน และลุ่มน�้ ำกก-แม่สาย ระหว่างไทย-พม่า ลุ่มน�้ ำสตึงนัม ระหว่างไทย-กัมพูชา และลุ่มน�้ ำโก-ลก ระหว่าง ไทย-มาเลเซีย ในการวางแผนการจัดการน�้ ำข้ามพรมแดน จ� ำเป็นต้องมีการวางแผนระยะยาว โดยค� ำนึงถึง ประโยชน์ร่วมกันโดยได้ประเมินว่าแม่น�้ ำโขงมีศักยภาพที่จะสามารถผันมาช่วยลุ่มน�้ ำชี-มูล ได้ถึงปีละ ๒,๕๘๐ ล้านลูกบาศก์เมตร แม่น�้ ำสาละวินสามารถผันมาเพิ่มเติมน�้ ำให้แก่ลุ่มน�้ ำปิงได้ ๒,๑๘๒ ล้านลูกบาศก์เมตร ลุ่มน�้ ำกก-แม่สาย สามารถเพิ่มน�้ ำให้แก่ภาคเหนือตอนบนได้ ๗๖๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ลุ่มน�้ ำสตึงนัม สามารถ ผันมาให้ลุ่มน�้ ำชายฝั่งทะเลตะวันออกได้ ๗๖๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นต้น ซึ่งหากมีความตกลงร่วมมือที่ดี กับประเทศเพื่อนบ้านจะท� ำให้ประเทศไทยมีน�้ ำเพิ่มขึ้นถึงปีละ ๖,๒๗๒ ล้านลูกบาศก์เมตร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=