สำนักราชบัณฑิตยสภา
สิ ริ วั ฒน์ วงษ์ศิ ริ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 135 แมลงจัดได้ว่าเป็นแหล่งอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสารอาหารประเภทโปรตีนสูง สามารถใช้เป็นแหล่งโปรตีนหรืออาหารเสริมให้แก่ชาวบ้านได้ โดยไม่จ� ำเป็นต้องเสียเงินจ� ำนวนมากเพื่อ ซื้อเนื้อสัตว์ต่าง ๆ มาบริโภค นอกจากนี้ยังให้พลังงาน ไขมัน และแร่ธาตุต่าง ๆ โดยสามารถเปรียบเทียบ คุณค่าทางโภชนาการระหว่างแมลงกับเนื้อสัตว์ในตารางที่ ๒ ตารางที่ ๓ : พลังงานและองค์ประกอบหลักของแมลงที่กินได้ ในน�้ ำหนักสด ๑๐๐ กรัม ตารางที่ ๔ : ส่วนประกอบของกรดแอมิโนชนิดไม่จ� ำเป็นในแมลงที่กินได้ (มิลลิกรัม/กรัมโปรตีน) แมลง พลังงาน ความชื้น โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม) จิ้งโกร่ง ๑๘๘ ๖๗ ๑๗.๕ ๑๒.๐ ๒.๔ จิ้งหรีด ๑๓๓ ๗๓ ๑๘.๖ ๖.๐ ๑.๐ ดักแด้ไหม ๑๕๒ ๗๐ ๑๔.๗ ๘.๓ ๔.๗ ตั๊กแตนปาทังก้า ๑๕๗ ๖๖ ๒๗.๖ ๔.๗ ๑.๒ ตัวอ่อนของต่อ ๑๔๐ ๗๓ ๑๔.๘ ๖.๘ ๔.๘ แมลงกินูน ๙๘ ๗๖ ๑๘.๑ ๑.๘ ๒.๒ แมลงป่อง ๑๓๐ ๖๙ ๒๔.๕ ๒.๓ ๒.๘ หนอนไม้ไผ่ ๒๓๑ ๖๗ ๙.๒ ๒๐.๔ ๒.๕ ที่มา : กองโภชนาการ ๒๕๔๔ แมลง อาร์จินิน ฮิสทิดีน อะลานีน กรดแอสพาร์ติก กรดกลูทามิก ไกลซีน โพรลีน ซีรีน จิ้งหรีด ๔๕.๓๓ ๑๕.๔๔ ๗๘.๐๕ ๖๙.๑๙ ๙๖.๘๐ ๔๗.๑๙ ๔๕.๑๕ ๓๕.๘๖ ดักแด้ไหม ๕๘.๗๘ ๓๕.๓๕ ๓๙.๔๑ ๘๘.๘๘ ๑๐๗.๓๓ ๒๙.๖๖ ๔๔.๓๘ ๓๗.๖๘ ตั๊กแตนปาทังก้า ๓๖.๐๒ ๑๓.๕๓ ๙๒.๗๑ ๔๘.๗๙ ๗๖.๓๖ ๔๘.๘๕ ๔๘.๗๑ ๒๓.๘๘ ตัวอ่อนของต่อ ๔๑.๐๔ ๓๕.๒๘ ๔๓.๕๐ ๗๙.๖๓ ๑๘๐.๖๑ ๔๘.๑๖ ๕๖.๗๕ ๓.๘๐ แมลงกินูน ๓๒.๓๑ ๑๖.๑๐ ๕๘.๒๘ ๖๑.๑๖ ๙๗.๕๕ ๕๒.๗๕ ๔๖.๙๖ ๓๑.๓๔ แมลงป่อง ๔๑.๒๕ ๑๘.๘๓ ๕๐.๑๑ ๕๒.๐๐ ๖๗.๖๕ ๗๐.๘๓ ๒๖.๒๓ ๒๕.๘๔ หนอนไม้ไผ่ ๔๗.๘๗ ๒๓.๒๖ ๓๗.๗๐ ๘๘.๑๖ ๙๓.๑๕ ๓๒.๗๒ ๔๐.๗๐ ๔๑.๓๔ ที่มา : กองโภชนาการ ๒๕๔๔
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=