สำนักราชบัณฑิตยสภา
สิ ริ วั ฒน์ วงษ์ศิ ริ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ 129 ๒. กลุ่มตั๊กแตน (Orthoptera) แมลงกลุ่มนี้มีหนวดที่ค่อนข้างสั้น ส่วนใหญ่หนวด จะสั้นกว่าขนาดตัว และมีอวัยวะสืบพันธุ์สั้น บางสายพันธ์ุ ส่งเสียงได้ เกิดจากการถูขาที่ซ่อนอยู่กับปีกหรือท้อง หรือการ กระพือปีก อวัยวะรับเสียงจะอยู่ที่ส่วนท้องหลังแรก ขาที่ซ่อน อยู่ของตั๊กแตนจะยาวและแข็งแรงเป็นพิเศษ เหมาะแก่การ กระโดด จริงอยู่ที่ว่ามันมีปีก แต่ว่าปีกก็ซ่อนอยู่ และก็เป็น เพียงแผ่นบางที่ไม่เหมาะที่จะใช้บิน เพศเมียจะมีขนาดใหญ่ กว่าเพศผู้ และมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่สั้นกว่าเพศผู้ พบตามไร่ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง บางชนิดไม่ชอบแสงสว่าง อาศัยอยู่ตาม คันนา ทุ่งหญ้า ออกจากรูในตอนกลางคืน เช่นพวกตั๊กแตน จิ้งหรีด จิ้งกุ่ง นิยมน� ำมาเสียบไม้ย่าง ต� ำน�้ ำพริก หรือคั่ว ปัจจุบันเป็นแมลงเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สามารถท� ำรายได้ให้ กับประชาชนหรือเกาตรกรผู้เลี้ยง จึงมีการส่งเสริมให้มีการ เพาะเลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริมในหลายจังหวัด เช่น สกลนคร ขอนแก่น ลพบุรี พิจิตร พิษณุโลก เชียงราย เชียงใหม่ ๓. แมลงกลุ่มพวกมวน (Hemiptera) แมลงดานา เป็นแมลงที่ ล� ำตัวใหญ่ที่สุดในพวกมวนด้วยกัน อาศัยอยู่ในน�้ ำ มีล� ำตัวกว้างและ แบนเป็นรูปไข่ ขาคู่หน้าเหมาะ ส� ำหรับจับสัตว์ ขาคู่กลางและหลัง แบนตรง มีขนสีน�้ ำตาลคลุมเป็น แผงด้านหนึ่งเหมาะส� ำหรับว่ายน�้ ำ แมลงดา พบได้ตามสระ หนอง บึง กินแมลงและสัตว์น�้ ำเล็ก ๆ เป็น อาหาร โดยทั่วไปนิยมน� ำมาท� ำเป็นน�้ ำพริก ท� ำให้มีกลิ่นหอมน่ารับประทาน สามารถกินทั้งตัวได้ด้วย เช่น ทอด คั่ว
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=