สำนักราชบัณฑิตยสภา
5 ศิ ริ พงศ์ หั งษพฤกษ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๕ • การเตรียมรับสภาวะโลกร้อน • การมีองค์กรและกลไกที่เหมาะสมในการบริหารจัดการน�้ ำ • การบรรเทาวิกฤตน�้ ำ โดยในแต่ละกลยุทธ์มีแผนงานและโครงการที่สมควรพิจารณาอีกมากมาย อาทิ ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านทรัพยากรน�้ ำของชาติ กลยุทธ์ที่ ๑ การอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน�้ ำธรรมชาติและพื้นที่ชุ่มน�้ ำ แผนงาน/โครงการ ๑. การก� ำหนดความต้องการน�้ ำเพื่อรักษาระบบนิเวศ ๒. การน� ำน�้ ำเสียที่บ� ำบัดแล้วมาใช้ใหม่ (reuse) ๓. การพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์และใช้พื้นที่ชุ่มน�้ ำอย่างชาญฉลาด ๔. การควบคุม/แก้ไขการแพร่กระจายมลพิษในชั้นน�้ ำบาดาล ๕. การประเมินความสูญเสียระบบนิเวศจากการพัฒนาแหล่งน�้ ำ ๖. การจัดการน�้ ำในพื้นที่น�้ ำกร่อย ๗. การประเมินผลโครงการฝายต้นน�้ ำต่อ การเสริมระบบนิเวศลดการกัดเซาะ บรรเทาอุทกภัย ฯลฯ ๘. การบ� ำบัดน�้ ำเสียโดยระบบชีวภาพ - ปัญหาสาหร่ายและสารพิษ กลยุทธ์ที่ ๒ การชลประทานที่มีประสิทธิภาพ แผนงาน/โครงการ ๑. การก� ำหนดเป้าหมายการพัฒนาแหล่งน�้ ำและการชลประทานโดยค� ำนึงถึงศักยภาพน�้ ำ ดิน ผลผลิต การตลาด แรงงาน ความคุ้มทุน ฯลฯ ๒. การเพิ่มประสิทธิภาพการชลประทาน ๓. การพัฒนาอุปกรณ์และวิธีการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ ๔. การควบคุมการระบายน�้ ำและใช้น�้ ำจากระบบระบายน�้ ำ ๕. การประเมินผลกระทบจากการพัฒนาแหล่งน�้ ำขนาดใหญ่
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=