สำนักราชบัณฑิตยสภา

การจั ดการทรั พยากรน�้ ำของภาครั ฐ 4 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 1 Jan.-Mar. 2012 ๕. ปัญหาด้านน�้ ำ ปัญหาที่เกี่ยวกับน�้ ำ สามารถพิจารณาเป็นระบบลุ่มน�้ ำ โดยเริ่มจากต้นน�้ ำที่มีป่าประมาณ ๑๐๒ ล้านไร่ แต่เสื่อมโทรมและใช้ประโยชน์อื่น ๑๔ ล้านไร่ ท� ำให้เกิดการกัดเซาะหน้าดิน เกิดเหตุการณ์ น�้ ำหลากดินถล่ม โดยมีหมู่บ้านที่เสี่ยงภัยสูงถึง ๒,๓๗๐ หมู่บ้าน ส� ำหรับในพื้นที่กลางน�้ ำ จะมีปัญหา การขาดแคลนน�้ ำอุปโภคบริโภค โดยมีหมู่บ้านที่ไม่มีระบบประปาถึง ๗,๔๗๙ หมู่บ้าน และมีระบบประปา ที่ต้องปรับปรุงถึง ๒๑,๓๓๖ แห่ง โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างและภาคเหนือสุดของ ประเทศไทย ส� ำหรับน�้ ำเพื่อการเกษตรพบว่ามีการขาดแคลนมากที่สุดในลุ่มน�้ ำเจ้าพระยา ภาคตะวันออก เฉียงเหนือและกระจัดกระจายในภาคใต้และภาคเหนือของประเทศ ในทางกลับกันปรากฏว่าในฤดูฝน ก่อให้เกิดน�้ ำท่วมขังในที่ราบลุ่ม โดยมีพื้นที่เสี่ยงภัยน�้ ำท่วมในที่ลุ่ม ๒๗ ล้านไร่ และเมืองเศรษฐกิจที่เสี่ยง ภัยน�้ ำท่วม ๓๒ เมือง ใน ๑๕ กลุ่มพื้นที่ ในส่วนของพื้นที่ท้ายน�้ ำมีคุณภาพน�้ ำเสื่อมโทรมจากของเสียจากอุตสาหกรรม ชุมชน และ เกษตรกรรมในลุ่มน�้ ำเจ้าพระยา ท่าจีน แม่กลอง บางปะกง และล� ำตะคองตอนบน ความสกปรกของ น�้ ำจืดที่เชื่อมโยงกับอ่าวไทยส่งผลกระทบต่อคุณภาพน�้ ำในทะเล ในภาพรวมยังคงมีปัญหาในการบริหารจัดการน�้ ำ โดยมีการบริหารจัดการองค์กรที่ไม่เป็นเอกภาพ มีกฎหมายเฉพาะด้านแต่ไม่มีกฎหมายในภาพรวม ทั้งหมดนี้มีผลท� ำให้เกิดการขัดแย้งกันในการจัดการน�้ ำ มีผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ ๖. ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านทรัพยากรน�้ ำของประเทศ พิจารณาจากประเด็นปัญหา และภารกิจหน้าที่ของหน่วยงานที่ด� ำเนินการเรื่องน�้ ำของประเทศ ตลอดจนจากการรับฟังความเห็นของประชาชนที่ให้ความสนใจในการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรน�้ ำ จะสามารถประมวลความคิดเพื่อที่จะบริหารจัดการน�้ ำและระบบชลประทานให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และยั่งยืน โดยอาศัยกลยุทธ์ดังต่อไปนี้ • มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน�้ ำธรรมชาติ • การจัดการน�้ ำระหว่างประเทศ • การชลประทานที่มีประสิทธิภาพ • การบริหารจัดการน�้ ำบาดาลแบบยั่งยืน • การบริหารจัดการน�้ ำนอกเขตชลประทาน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=