สำนักราชบัณฑิตยสภา

พิ นิ จกาพย์พระไชยสุริ ยาของสุนทรภู่ 70 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 2 April-June 2012 ๗ ใน มหาสุบินชาดก พระดาบสโพธิสัตว์กล่าวถึงจุดเสื่อมของโลกว่า ในกาลนั้นผู้คนถือเอาข้อที่ใช่เหตุว่าเป็นเหตุ ข้อที่เป็นเหตุว่าไม่ใช่เหตุ ข้อไม่จริงว่าจริง ข้อที่จริงว่าไม่จริง และมีพวกอลัชชีมากขึ้น ที่ท่านผู้นี้ประพฤติเช่นนี้ได้อาจเป็นด้วยถือตนว่าไม่มีใครท� ำอะไรได้เพราะธิดาคนหนึ่งของท่าน รับราชการฝ่ายในต� ำแหน่งเจ้าจอม เรื่องราวของท่านน่าจะเอิกเกริกเลื่องลือในยุคสมัย แม้แต่ พระราช- พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ซึ่งเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดีเป็นผู้แต่งยังบันทึกไว้ การที่ท่านผู้นี้ไม่ได้รับการ “ก� ำราบ” (อาจจะเป็นด้วยสาเหตุพระเมตตาที่มีต่อราชเสวกทั่วไป) น่าจะท� ำให้ หลายคนไม่สบายใจ และบางคนนึกถึง เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา ซึ่งเคยเกิดขึ้นในภาวะบ้านเมือง ที่ผู้คนเกิดความไม่มั่นคงทางจิตใจ จึงเป็นไปได้ว่าจะส่งผลให้มีการน� ำ “พาราสาวัตถี” มาประกอบสร้าง เป็นวรรณคดีเรื่องนี้ กล่าวคือบริบททางสังคมเป็นปัจจัยให้วาทกรรมพยากรณ์นี้ได้รับการผลิตซ�้ ำ เท่ากับว่า กาพย์พระไชยสุริยา ก็คือ การแปรรูปของ เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา โดยน� ำมาเป็นองค์ประกอบ ส� ำคัญของตัวบทเรื่องใหม่นั่นเอง “พาราสาวัตถี” สะท้อนภาพบ้านเมืองไม่มีขื่อไม่มีแป ผู้มีอ� ำนาจในบ้านเมืองไม่อาจเป็นที่พึ่งของ ประชาชนได้ ถ้อยค� ำที่ว่า “ขี้ฉ้ก็ได้ดี” “ประกอบชอบเป็นผิด กลับจริตผิดโบราณ สามัญอันธพาล ผลาญ คนซื่ถืสัตย์ธรรม” อาจพิจารณาได้ว่าเป็นการวิจารณ์บ้านเมืองในสมัยของผู้แต่ง โดยให้รายละเอียดชัดเจน และเจาะจง เป็นการสรุปเน้นย�้ ำ ต่างจากใน มหาสุบินชาดก ที่กล่าวอย่างกว้าง ๆ ว่า ถือเอาข้อใช่เหตุว่าเป็น เหตุ ถือเอาข้อเป็นเหตุว่ามิใช่เหตุ ๗ ผู้ที่ถูกวิจารณ์นั้นเป็นบุคคลหลายเหล่าต่างฐานะ ไปจนถึงผู้ทรงอ� ำนาจ สูงสุดดังจะเห็นได้จากถ้อยค� ำที่ว่า “ไพร่ฟ้าเศร้าเปล่าอุรา” ซึ่งหมายถึงประชาชนอยู่ในสภาพสิ้นหวัง ค� ำว่า “ไพร่ฟ้า” มีนัยเชื่อมโยงถึงพระเจ้าแผ่นดิน ตามพุทธท� ำนายใน มหาสุบินชาดก ซึ่งมีว่า ความเสื่อมของสังคม เกิดขึ้นในยามที่ผู้ปกครองบ้านเมืองไม่ตั้งมั่นในธรรม ข้อน่าสังเกตก็คือ หลังจากที่ได้กล่าวถึงพฤติกรรมแง่ลบของผู้คนในสังคม มีถ้อยค� ำกล่าวว่า “ที่ดี มีอะโข ข้าขอโมทะนาไป” ไม่ว่าผู้แต่งจะเจตนาหรือไม่ก็ตาม ข้อความนี้มีความส� ำคัญในฐานะค� ำออกตัว มี ผลให้การกล่าวถึงพฤติกรรมของผู้คนที่ด� ำเนินอยู่ในมิติปกรณัมแปรมิติเป็นความจริงปัจจุบันขึ้นทันใด และ ส่งผลให้ตัวบทปรากฏแง่มุมความเป็นงานวิพากษ์วิจารณ์สังคมชัดเจนขึ้น ความเป็นไปในที่สุดของ “พาราสาวัตถี” คือ หายนะของบ้านเมืองนั้นอาจเปิดเผยความคิดลึก ๆ ในยามที่รู้สึกคับแค้นสิ้นหวังถึงที่สุดของสุนทรภู่ซึ่งเชื่อว่าตนเป็นเหยื่อที่ถูกกระท� ำอย่างไร้ความเป็นธรรม ในสังคม สังคมที่ด� ำเนินมาจนถึงจุดเสื่อมอย่างที่สุด สิ่งที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งใน กาพย์พระไชยสุริยา คือ บทอัศจรรย์ ซึ่งกล่าวถึงในตอนที่ พระไชยสุริยาและมเหสีเดินทางในป่า พระไชยสุริยาสงสารมเหสีที่ต้องตกระก� ำล� ำบาก จึงแสดงความ เมตตากรุณา ดังที่ว่า

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=