สำนักราชบัณฑิตยสภา

พิ นิ จกาพย์พระไชยสุริ ยาของสุนทรภู่ 66 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 2 April-June 2012 ยามบ้านดีเมืองดี น� ำเค้าความมาจากตอนต้นของ เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา ต่อมาตอน ที่กล่าวถึงผู้คนพากันประพฤติบาปน� ำเค้าความมาจากพุทธท� ำนายในปรารภกถา มหาสุบินชาดก ในตอนที่กล่าวถึงเหตุการณ์ระหว่างน�้ ำท่วม มีการสอดแทรกเรื่องนกที่อยากทราบความกว้างใหญ่ของ ทะเล คล้ายได้ข้อมูลจากต� ำนานของชาวตะวันตกที่ว่าระหว่างน�้ ำลดมีการส่งนกไปส� ำรวจว่าพื้นดินแห้งแล้ว หรือยัง แต่นกที่สุนทรภู่กล่าวถึงชื่อ พระยาส� ำภาที นั้นน่าจะได้เค้ามาจาก สัมพาที พระยานกในบทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ (พระยานกนี้เป็นผู้บินพาหนุมานไปดูที่ตั้งกรุงลงกาซึ่งอยู่กลางทะเล) นอกจากนี้ ยังก� ำหนด ให้อมาตย์ตอบข้อซักถามของพระไชยสุริยาเกี่ยวกับที่มาของทะเล อมาตย์ทูลว่า น�้ ำในทะเลนี้ไหลมาแต่ คอโค อันเป็นความรู้ที่มาจากคัมภีร์ศาสนา หนังสือ ไตรภูมิพระร่วง กล่าวว่า น�้ ำในอัณพดาปสระไหลออก จากสระ ๔ ทิศ ทิศหนึ่งหน้าดังสิงห์ ทิศหนึ่งหน้าดังช้าง ทิศหนึ่งหน้าดังม้า และทิศหนึ่งหน้าดังวัว น�้ ำนั้น ไหลออกจากสระทั้ง ๔ ทิศ เมื่อเวียนรอบอัณพดาปสระแล้วไหลต่อไปลงมหาสมุทรในที่สุด เหล่านี้แสดง ความรู้อันกว้างขวาง และภูมิปัญญาของผู้แต่งในการประกอบสร้างเรื่องราวโดยผสานข้อมูลจากแหล่ง ต่าง ๆ เข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี ใน กาพย์พระไชยสุริยา สุนทรภู่แสดงให้เห็นว่าเรื่องราวแต่เท่านี้ผู้แต่งที่มีฝีมือก็สามารถท� ำให้มี เสน่ห์น่าอ่านได้ด้วยถ้อยค� ำ ด้วยศิลปะการประพันธ์ และสามารถน� ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างอเนกประสงค์ กาพย์พระไชยสุริยาในฐานะวรรณกรรมค� ำสอน ความอันเด่นของเรื่อง กาพย์พระไชยสุริยา ที่ท� ำให้ผู้อ่านจดจ� ำกันได้มาก คือ ความเป็นไปใน “พาราสาวัตถี” ในวาระที่สังคมก้าวสู่จุดเสื่อมจนถึงที่สุด ได้แก่ ๑. จริยธรรมเสื่อมถอยในหมู่ข้าราชการ คือ ก. ความหมกมุ่นในกาม ลุแก่มาตุคาม ดังที่ว่า อยู่มาหมู่ข้าเฝ้า ก็หาเยาวนารี ที่หน้าตาดีดี ท� ำมะโหรีที่เคหา ค�่ ำเช้าเฝ้าสีซ เข้าแต่หฬ่กามา หาได้ให้ภะริยา โลโภพาให้บ้าใจ ข. การทุจริตในหน้าที่ราชการ รังแกประชาชน ดังที่ว่า ถืดีมีข้าไท ฉ้แต่ไพร่ใส่ขื่คา คะดีที่มีคู่ คืไก่หมูเจ้าสูภา ใครหาเข้าปลามา ให้สุภา ก็ว่าดี ที่แพ้แก้ชนะ ไม่ถืพระประเวณี ขี้ฉ้ก็ได้ดี ไล่ด่าตีมีอาญา หาได้ใครหาเอา ไพร่ฟ้า เศร้าเปล่าอุรา ผู้ที่มีอาญา ไล่ตีด่าไม่ปรานี ค. ความไม่ซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อพระราชา ดังที่ว่า ข้าเฝ้าเหล่าเสนา มิได้ว่าหมู่ข้าไทย์ ถืน�้ ำร�่ ำเข้าไป แต่น�้ ำใจไม่น� ำภา

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=