สำนักราชบัณฑิตยสภา

269 มงคล เดชนคริ นทร์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๕ พระพุทธเจ้า เจ้าชายสิทธัตถะหลังจากตรัสรู้ ธรรม, พระธรรม (ดังที่มีพระพุทธวัจนะ ว่า “ผู้ใดเห็นตถาคต ผู้นั้นเห็นธรรม”) ธรรม, พระธรรม ใบลานหรือหนังสือที่จารึกค� ำสอนใน ธรรมชาติ, กฎของธรรมชาติ, หน้าที่ที่ พระพุทธศาสนา, ค� ำสอนใน คนเราต้องปฏิบัติตามกฎของ พระพุทธศาสนา ธรรมชาติ, ผลที่ได้จากการปฏิบัติตาม กฎของธรรมชาติ สงฆ์, พระสงฆ์ กลุ่มของพระภิกษุที่โกนหัวโกนคิ้ว พระอริยบุคคล ๔ คือ พระโสดาบัน และห่มจีวรสีเหลือง สกทาคามี อนาคามี และอรหันต์ ศาสนา วัดวาอาราม, โบสถ์วิหาร, เจดีย์, ธรรมะที่เป็นเครื่องก� ำจัดทุกข์, จีวร ฯลฯ พรหมจรรย์ งาน สิ่งที่คนเราต้องท� ำเพื่อเลี้ยงชีวิต การฝึกจิต, กรรมฐาน พรหมจรรย์ การไม่ประพฤติผิดทางกาม การปฏิบัติเพื่อก� ำจัดหรือขัดเกลากิเลส (ศีลห้าหรือศีลแปดข้อที่ ๓) อย่างเคร่งครัดจริงจัง นิพพาน เมืองแก้วที่น่าอภิรมย์ สามารถบันดาล ความดับของกิเลสและทุกข์ ทุกสิ่งทุกอย่างให้ได้ทันทีตามที่ใจ อย่างเด็ดขาดและสิ้นเชิง ปรารถนา มรรคผล ความส� ำเร็จในการปฏิบัติงาน ความส� ำเร็จในการก� ำจัดกิเลสและทุกข์ พระพุทธศาสนาเข้ากันได้กับโลกสมัยใหม่ และท� ำให้คนทั่วไปสามารถเข้าถึงภาวะสงบเย็นทางจิตใจ (นิพพาน ชิมลอง) ได้ในปัจจุบัน ไม่ต้องรอให้ถึงชาติหน้า ยกตัวอย่างว่า สวรรค์และนรกที่เคยตีความกันมาตามแบบ ภาษาคนว่าเป็นสถานที่ที่คนเราจะขึ้นหรือตกไปสู่เมื่อตายจากโลกนี้แล้วนั้น ท่านพุทธทาสได้ให้ความหมาย ใหม่ในภาษาธรรมว่า เป็นเพียงภาวะทางจิตของคนที่ก� ำลังมีความสุขสนุกสนานในกามคุณหรือมีความทุกข์ ความร้อนรนอยู่ในชาติปัจจุบันนี้นั่นเอง (ผู้อ่านที่สนใจรายละเอียดของค� ำอธิบายและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับ ภาษาคน-ภาษาธรรม โปรดดู แจ็กสัน ๒๕๔๙ : ๑๐๒๕-๑๐๔๙) ตัวอย่างของค� ำศัพท์ค� ำอื่น ๆ ที่ท่านพุทธทาส ได้ให้ความหมายในภาษาคนและความหมายในภาษาธรรมเอาไว้มีดังนี้ (Buddhadāsa 1971: 56-86) ค� ำศัพท์ ความหมายในภาษาคน ความหมายในภาษาธรรม

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=