สำนักราชบัณฑิตยสภา

257 วิ จิ นตน์ ภาณุพงศ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๕ สัททอักษรสยามปาฬิ / สัททอักษรไทยปาฬิ โปรดสังเกต ช่องสีเหลืองแสดงข้อแตกต่างระหว่าง สัททอักษรสยาม ปาฬิ กับ สัททอักษรไทย ปาฬิ คือ สัททอักษรไทย ปาฬิ ใช้อักษรที่มีเชิง ได้แก่ [ ญ ] [ ฐ ] และช่องสีชมพูแสดงความต่างในการใช้สัญลักษณ์สัททอักษร โดยใช้สัญลักษณ์ [ บ ] เทียบกับเสียงในอักษรโรมัน b และ สัททอักษรสากล ปาฬิ [ b ] และ [ ด ] กับอักษร d และ [ d̪ ] ซึ่ง สัททอักษรสยาม ปาฬิใช้ [ พ์ ] และ [ ท์ ] ตามลำ �ดับ ในตารางด้านซ้ายมือ ช่องสีฟ้า แสดงเสียงนิคหิต และเสียงนาสิกที่เกิดที่เพดานอ่อน ซึ่งเขียนเหมือนกันทั้งในชุดไทยและสยาม โดยเทียบกับ สัททอักษรสากล ปาฬิ เพื่อให้ตรงกับเสียงขึ้นจมูกมากยิ่งขึ้น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๒ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๓ ๓ ๑ ๒ ๓

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=