สำนักราชบัณฑิตยสภา

สั ททอั กษรไทยปาฬิ* 252 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 2 April-June 2012 ภาสา-อักษรสยาม อักษร ๑ ตัว แทนทั้งเสียงพยัญชนะและเสียง สระ-อะ ที่ตามมา เช่น อ่านตัว ก ว่า ก + ะ เป็นเสียง [ ka ] สัททอักษรไทยปาฬิจึง ประวิสรรชนีย์ คือใส่ สระ-อะ หลังพยัญชนะทุกตัว นอกจาก นี้บนพยัญชนะตัวสะกดงดแสดงเครื่องหมายวัญชการ ( ์ ) เช่น ธัม์มํ เขียนเสียงอ่านใน สัททอักษรสยาม ปาฬิว่า [ ธัม์มังํ ] แต่ สัททอักษรไทย ปาฬิจะเขียนว่า [ ธัมมังํ ] เนื่องจากพยัญชนะที่มีเสียง สระ-อะ ( -ะ ) จะมี เครื่องหมายไม้หันอากาศ -ั แทน สระ-อะ ลดรูปก� ำกับชัดเจนแล้ว อนึ่ง ค� ำว่า อหมาทเรน สัททอักษรสยาม ปาฬิ เขียนว่า [ อะหะมาทะเรนะ ] ซึ่งใน สัททอักษรไทย ปาฬิ ได้เปลี่ยนสัญลักษณ์ ท เป็น ด และเปลี่ยน พ เป็น บ เพื่อแก้ปัญหาการออกเสียงปนกันระหว่างเสียง ปาฬิภาสากับเสียงในภาษาไทย) ๖. จากหลักการใช้ ๑ สัญลักษณ์ แทน ๑ เครื่องหมาย สัททอักษรสยาม ปาฬิจึงแสดงเสียงควบกล�้ ำ ด้วยเครื่องหมายยามักการด้วย เช่น ในอักษรสยามปาฬิ ภ ๎ ​ ย เขียนเสียงอ่านเป็น สัททอักษรสยาม ปาฬิ ว่า [ ภ ๎ ​ ยะ ] ​ โดยมีการประวิสรรชนีย์ ด้วย ดูหลักการประวิสรรชนีย์ในข้อ ๕. เช่น สุเขต์ตาภ ๎ ​ ยติเขต์ตสั์ิโต เขียนเสียงอ่านว่า [ สุเขตตา-ภ ๎ ​ ยะติเขตตะสัิิโต ]

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=