สำนักราชบัณฑิตยสภา
129 มาลิ ทั ต พรหมทั ตตเวที วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๒ เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๕ เป็นอาหารพื้นเมืองประเภทแกงที่คนไทยรับ ประทานกับข้าว มีครบรสคือ เปรี้ยว เค็ม เผ็ด หวานเล็กน้อย โดยเน้นรสเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก มี ๒ ประเภทคือ ต้มย� ำน�้ ำใส และ ต้มย� ำน�้ ำข้น ต้ มย� ำน�้ ำใสแบบไทยแท้ จะไม่ ใส่ นมหรือกะทิ ถ้าเป็นภาคอีสานจะเป็น ต้มแซ่บ ที่ใส่พริกแห้ง และข้าวคั่วลงไปด้วย ส่วนประกอบหลักคือ เนื้อสัตว์ เช่น ไก่บ้าน ปลา หรือกบ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด พริกทั้งสดและแห้ง มะนาว น�้ ำปลา ต้มย� ำน�้ ำข้น จะใส่นมหรือกะทิเพื่อให้รสชาติกลมกล่อมขึ้น แต่ถ้าเป็น ต้มย� ำหัวปลา มักไม่นิยมใส่นม ส่วน น�้ ำพริกเผานั้นจะใส่หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับรสนิยม ของแต่ละคน ถ้าเป็น ต้มโคล้ง จะใส่น�้ ำมะขามเปียก แทนน�้ ำมะนาว และใส่หอมแดงสดลงไปด้ วย ในปัจจุบันต้มย� ำเป็นอาหารไทยที่ชาวต่างชาติ นิยมชมชอบ เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก โดยเฉพาะ ต้มย� ำกุ้ง ซึ่งมักใส่มันกุ้งลงไปด้วยเพื่อเพิ่มกลิ่นกุ้ง พะแนงเนื้อ ต้มย� ำกุ้งใส่นม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=