สำนักราชบัณฑิตยสภา

73 ปานสุนี สุววรณก� ำเนิ ด, สมชาย วงศ์วิ เศษ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ รูปที่ ๑ Internal liquid circulation (a) hydrophobic surface and (b) hydrophilic surface Talimi et al. [20] “Reprinted from International Journal of Multiphase Flow, 39 ,V . Talimia, Y.S. Muzychkaa, S. Kocabiyikb, A review on numerical studies of slug flow hydrodynamics and heat transfer in microtubes and microchannels, pp. 88-104 (2012), with permission from Elsevier.” ๒.๒.๒ ลักษณะการถ่ายเทความร้อน Betz and Attinger [21] ได้ท� ำการวิจัยเกี่ยวกับการถ่ายเทความร้อนของการไหล สองเฟสของน�้ ำและอากาศแบบเซกเมนต์ (segmented flow; taylor flow; bubble-slug flow) ในช่อง ทางการไหลขนาดเล็กแบบหลายช่องทาง (multi-channels) โดยมีช่องทางการไหลแบบสี่เหลี่ยมที่มี เส้นผ่านศูนย์กลางไฮดรอลิกส์เท่ากับ ๕๐๐ ไมโครเมตร พบว่าสามารถเพิ่มค่า Nusselt ในการไหลแบบ larminar ได้ร้อยละ ๑๔๐ เมื่อเทียบกับการไหลแบบเฟสเดียวของน�้ ำ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของค่า Nusselt คือการ เพิ่มอัตราการถ่ายเทความร้อนในช่องทางการไหลนั่นเอง ต่อมา Asthana et al. [22] ได้ท� ำการศึกษาวิจัย ในงานที่ใกล้เคียงกับ Betz and Attinger [21] โดยท� ำการศึกษาค่า Nusselt การถ่ายเทความร้อนของการ ไหลสองเฟส (liquid-liquid emulsion) ของน�้ ำกลั่นและแวกซ์เหลวที่เหลือจากการกลั่นผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม (Mineral oil) ในช่องทางการไหลที่มีความคดเคี้ยว (Serpentine section) ขนาดเส้นผ่านศูนย์ กลางไฮดรอลิกส์ ๑๐๐ ไมโครเมตร พบว่าสามารถเพิ่มค่า Nusselt ขึ้น เมื่อเทียบกับการไหลแบบเฟสเดียว ของน�้ ำ โดยงานทั้งสองมีข้อสรุปไปในแนวทางเดียวกันว่า การเพิ่มการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ ยังมีผลโดยตรงกับการเพิ่มขึ้นของความดันลดที่เกิดขึ้นในระบบอีกด้วย

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=