สำนักราชบัณฑิตยสภา
การไหลแบบสองเฟสโดยไม่มี การเดื อดในช่องทางการไหลขนาดเล็ กมาก 66 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 (๑) เมื่อ เครื่องหมายต่อท้าย L แสดงสถานะของเหลว, G แสดงสถานะแก๊ส ดังนั้น และ คือ ความ หนาแน่นของของเหลวและแก๊สตามล� ำดับ, g คือ อัตราเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง, D h คือ เส้นผ่านศูนย์ กลางไฮดรอลิกส์ของท่อ เมื่อ A คือ พื้นที่หน้าตัดของช่องทางการไหล, P คือ ระยะเส้นรอบ หน้าตัดด้านผิวเปียกของช่องทางการไหล) และ คือ แรงตึงผิว จากสมการข้างต้นจึงกล่าวได้ว่าส� ำหรับการใช้น�้ ำและอากาศเป็นสารท� ำงานช่องทางการไหล ที่เรียกได้ว่าเล็กมาก หรือที่เรียกว่า micro-channel นี้มีขนาด Sur et al. [3] กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการไหลสองสถานะในช่องทางการไหล ขนาดเล็กยังขึ้นอยู่กับตัวแปรต่าง ๆ เช่น ความเร็วผิว (superficial velocity) ความหนาแน่น (density) ความหนืดของของไหล (viscosity) ดังนั้น รูปแบบการไหลจ� ำเพาะจึงเป็นผลที่เทียบเป็นความเฉื่อย (inertia) ความเค้นเฉือน (viscous shear) แรงเนื่องจากความโน้มถ่วง (gravitational) และแรงตึงผิว (surface tension forces) ดังนั้น ในการหาความสัมพันธ์ของแรงเหล่านี้สามารถแสดงได้ดังสมการคือ ค่า Reynolds number (Re) ซึ่งเป็นสัดส่วนระหว่างความเฉื่อย (inertia force) กับความหนืด (viscous force) (๒) (๓) ค่า capillary number ( Ca ) ซึ่งเป็นสัดส่วนระหว่างความหนืด ( viscous force) กับแรงตึงผิว ( surface tension forces) (๔) ค่าเวเบอร์ Weber number ( We ) ซึ่งเป็นสัดส่วนระหว่างความเฉื่อย ( inertia force) กับแรงตึงผิว ( surface tension forces) (๕) (๖) 2 ( ) 3.368 L G h gD Bo ρ ρ σ − = <
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=