สำนักราชบัณฑิตยสภา
ความหลากหลายของพื ชกั บภูมิ ปัญญาพื้ นบ้านอี สาน 60 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 ก่อเดือย Castanopsis acuminatissima Rehd., ก่อหิน Castanopsis piriformis Hick. & A. Camus, ก่อใบเลื่อม Castanopsis tribuloides A. DC., เขลง Dialium cochinchinense Pierre, กล้วยฤาษี Diospyros malabarica Kostel. var. siamensis (Hochr.) Phengklai, ตะโก Diospyros rhodocalyx Kurz, มะหลอด Elaeagnus latifolia Linn., มะเดื่ออุทุมพร Ficus racemosa Linn., เมื่อย Gnetum montanum Mgf., กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus Pierre, กระบก Irvingia malayana Oliv. ex A. Benn., คอแลน Nephylium hypoleucum Kurz, คางคก Nyssa javanica Wall., กระทกรก Passiflora foetida Linn., มะขามป้อม Phyllanthus embrica Linn., กระท้อน Sandoricum koetjape Merr. , ตะคร้อ Schleichera oleosa Merr. และมะกอก Spondias pinnata Kurz ด้วยการน� ำผลที่แก่เต็มที่มาบริโภค ๓. ใช้ช่อดอกและใบอ่อนเป็นอาหาร (ขอยกเป็นตัวอย่าง ๔๒ ชนิด) คือ ชะอม Acacia pennata Willd. subsp. insuavis (Lace) Neilsen, ผักขม Amaranthus lividus Linn., บุก Amorphophallus spp., สะเดา Azadirachta indica Juss. var. siamensis Vahl., จิกนา Barringtonia acutangula Gaertn., ผักปลัง Basella alba Linn., งิ้วป่า Bombax anceps Pierre, งิ้ว Bombax ceiba Linn., ชะเลือด Caesalpinia monosoides Lamk., กระโดน Careya sphaerica Roxb., ขี้เหล็ก Cassia siamea Britt., ขี้เหล็กเลือด Cassia timoriensis DC., บอน Colocasia antiquorum Schott., ปอกระเจา Corchorus aestuans Linn., กุ่มน�้ ำ Crateva magna DC., กุ่มบก Crateva religiosa Ham., ติ้วขน Cratoxylum formosum Dyer subsp. pruniflorum Gogel., กระเจียวขาว Curcuma parviflora Walb, ผักกูดขาว Diplazium esculentum Sw., กระทุงหมาบ้า Dregea volubilis Stapf., ทองหลาง ใบมน Erythrina fusca Lour., เสม็ดชุน Eugenia grata Wight., ชะมวง Garcinia cowa Roxb., ผักบุ้ง Ipomoea aquatica Forsk., แพงพวย Jussiaea repens Linn., ผักหนาม Lasia spinosa Thw., หญ้ายายเภา Lygodium flexuosum Sw., ลิเภาป่า Lygodium polystachyum Wall. ex Morre, มะม่วงป่า Mangifera caloneura Kurz, ผักแว่น Marsilea crenata Presl., ผักหวาน Melientha suavis Pierre, ผักเขียด Monochoria vaginalis Presl. var. plantaginea Solms., กล้วยป่า Musa spp., กูดหิน Nephrolepis falcata C. Chr., กะทกรก Passiflora foetida Linn., ผักกระสัง Peperomia pellucida Korth., ชะพลู Piper samentosum Roxb., กูดกิน Pteridium aquilinum Kuhn. var. yarrabense Domin, เฟือยนก Selaginella pubescens A. Bruan, พะยอม Shorea roxburghii G. Don, มะกอก Spondias pinnata Kurz, และอุตพิด Typhonium trilobatum Schott. ด้วยการน� ำส่วนที่อ่อน มาบริโภค เรื่องที่น่าสนใจที่สุดประการหนึ่งคือ ชุมชนอีสานเลือกและนิยมบริโภคข้าวเหนียว นับเป็น ภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษชาวอีสานมาแต่อดีต เพราะพันธุ์ข้าวเหนียวนั้นมีระยะเวลาตั้งแต่ปลูกจนถึง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=