สำนักราชบัณฑิตยสภา

ไข้หนูกั ด 56 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 การวินิจฉัยโรค การวินิจฉัยโรค S. moniliformis พึ่งการเพาะเชื้อจากเลือดหรือน�้ ำในข้อ และการตรวจสอบภาย ใต้กล้องจุลทรรศน์ อาจใช้การทดสอบแอนติบอดีในเลือดและปฏิกิริยาลูกโซ่เทคนิค PCR ส� ำหรับการวินิจฉัยไข้หนูกัด Spirillum minus ไม่สามารถเพาะเชื้อได้ จึงต้องพึ่งการตรวจหาเชื้อ จากเลือดหรือตัวอย่างของเนื้อเยื่อจากแผล การรักษา  การติดเชื้อปานกลางถึงรุนแรงใช้ยาฉีด penicillin G เข้าเส้น ขนาด ๓-๕ ล้านหน่วยทุก ๖ ชั่วโมง (๑๒-๒๐ ล้านหน่วย/วัน) นาน ๑-๒ สัปดาห์ หรือจนกว่าผู้ป่วยดีขึ้นจึง เปลี่ยนเป็นชนิดกิน  การติดเชื้ออย่างอ่อนใช้ penicillin V ชนิดกิน ขนาด ๕๐๐ มิลิกรัมทุก ๖ ชั่วโมง นาน ๕-๗ วัน ยาชนิดอื่นที่ใช้ได้คือ tetracycline กรณีมีประวัติแพ้ยา penicillin อาจใช้ erythromycin, clindamycin และ ceftriaxone การป้องกัน หลีกเลี่ยงจากหนู หากถูกสัมผัสควรล้างทันทีด้วยน�้ ำสะอาดหรือสารฆ่าเชื้อ เอกสารประกอบการเรียบเรียง 1. GaastraW, Boot R, HoHT, Lipman LJ. Rat bite fever. Vet Microbiol. 2009;133:211-28. 2. Wang TK, Wong SS. Streptobacillus moniliformis septic arthritis: a clinical entity distinct from rat-bite fever? BMC Infect Dis. 2007;7:56. 3. Elliott SP. Rat bite fever and Streptobacillus moniliformis. Clin Microbiol Rev. 2007;20:13-22. 4. Kanechorn Na Ayuthaya R, Niumpradit N. Rat-bite fever presenting with rash and septic arthritis. J Med Assoc Thai. 2005; 88 Suppl :S247-51. 5. Buranakitjaroen P, Nilganuwong S, Gherunpong V. Rat-bite fever caused by Streptobacillus moniliformis. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 1994;4:778-81.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=