สำนักราชบัณฑิตยสภา
ไข้หนูกั ด 54 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 อาการของโรค อาการไข้หนูกัดจากเชื้อ S. moniliformis และเชื้อ Spirillum minus มีอาการทั้งที่คล้ายคลึงกัน และต่างกันดังแสดงในตารางที่ ๒ รูปที่ ๒ ภาพวาดโดย Johannes Arndt Jepa แสดงผื่นบนร่างกาย ของผู้ป่วยหญิงที่ถูกกระรอกกัดประกอบการรายงานของ Schottmüller เมื่อ ค.ศ. ๑๙๑๔ ( Gaastra et al ., 2009) สาเหตุ S. moniliformis S. minus รูปร่างของเชื้อก่อโรค แท่งแกรมลบที่มีกระเปาะ สไปริลลัมแกรมลบ อุบัติการ ทั่วโลก ส่วนใหญ่ในเอเชีย การติดต่อ หนูกัด ข่วน หรือสัมผัสเยื่อเมือก และโดยกิน หนูกัด อาหารปนเปื้อนในกรณีไข้ Haverhill รอยกัด แผลหายอย่างรวดเร็ว รอยกัดแบบแผลริมอ่อน อาการแรกเริ่ม ไข้หนาวสั่น อาเจียน ปวดศีรษะ ต่อม ไข้ หนาวสั่น อาเจียน น�้ ำเหลืองอักเสบเล็กน้อย ต่อมน�้ ำเหลืองโตอักเสบ ลักษณะไข้ ไข้กลับซ�้ ำแบบไม่สม�่ ำเสมอ ไข้กลับซ�้ ำแบบสม�่ ำเสมอ ข้ออักเสบ พบบ่อย ร้อยละ ๕๐ มักไม่พบ ผื่น พบบ่อย ร้อยละ ๗๕ พบบ่อย ร้อยละ ๕๐ ตารางที่ ๒ เปรียบเทียบไข้หนูกัด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=