สำนักราชบัณฑิตยสภา
49 เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต, สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, สมชั ย บวรกิ ตติ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ จ� ำนวนน้อย หากได้รับเข้าไปทีละน้อยจากการหายใจ กินหรือดื่ม ก็จะเกิดพิษเรื้อรังทีละน้อย ด้วยอาการ ส� ำคัญ คือ ไตอักเสบ ไตล้มเหลว ข้อเสื่อม ถุงลมปอดโป่งพอง การหายใจผิดปรกติ และท� ำให้เกิดมะเร็งใน อวัยวะหลายชนิด ที่น่ากลัว คือ แคดเมียมที่ถูกทิ้งจากอุตสาหกรรมหรือแบตเตอรี่จะปนเปื้อนเข้าในดิน น�้ ำ ซึ่งสัตว์และพืชจะรับเข้าไปในตัว เมื่อคนกินสัตว์หรือพืชเข้าไป ก็จะได้รับแคดเมียมสะสมเข้าไปในปริมาณที่ เกิดพิษได้ง่าย ขณะนี้ตัวเลขที่ได้จากการจดทะเบียนโทรศัพท์มือถือทั่วประเทศมีจ� ำนวนมาก และมีจ� ำนวน ไม่น้อยที่ใช้แบตเตอรี่แบบ NICAD ซึ่งแต่ละก้อนจะมีอายุการใช้งานประมาณ ๑ ปี ดังนั้น จะมีแบตเตอรี่ NICAD เป็นพิษทิ้งจ� ำนวนหลายล้านก้อนต่อปี ขณะนี้มีประชาชนที่รู้ถึงพิษของขยะอันตรายและพยายาม แยกขยะ แต่ก็ไม่สามารถที่จะหาที่ทิ้งที่ถูกต้อง หรือหาหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงได้ เอกสารอ้างอิง ๑. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. โทรศัพท์มือถือ; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://th. wikipedia.org (วันที่ค้นข้อมูล ๙ สิงหาคม ๒๕๕๔). ๒. Touch Phone View. ครบรอบ ๒๐ ปี การเปิดใช้โทรศัพท์มือถือระบบจีเอสเอ็ม; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.touchphoneview.com/news/?p= 6094 (วันที่ค้นข้อมูล ๗ สิงหาคม ๒๕๕๔). ๓. ส� ำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สรุปผลที่ส� ำคัญ ส� ำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพลส จ� ำกัด; ๒๕๕๓. ๔. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. จ� ำนวนการใช้มือถือที่เพิ่มขึ้น; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.mict.go.th (วันที่ค้นข้อมูล ๗ สิงหาคม ๒๕๕๔). ๕. คลังสมองออนไลน์. ประเภทของโทรศัพท์มือถือ; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http:// www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php? topic =5598.0 (วันที่ค้นข้อมูล ๗ สิงหาคม ๒๕๕๔). ๖. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org (วันที่ค้นข้อมูล ๘ สิงหาคม ๒๕๕๔). ๗. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. รังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่กับสุขภาพ; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก: http://th.wikipedia.org (วันที่ค้นข้อมูล ๘ สิงหาคม ๒๕๕๔). ๘. ส� ำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. สัญญาณอันตรายจากโทรศัพท์มือถือ; ๒๕๕๔. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: h ttp://www.hiso.or.th/hiso/health_news/health_story4_13.php (วันที่ค้นข้อมูล ๘ สิงหาคม ๒๕๕๔).
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=