สำนักราชบัณฑิตยสภา
249 เลิ ศศิ ริ ร์ บวรกิตติ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ - เสื้อกันเปื้อน - กระดาษเช็ดมือ - สนามเด็กเล่นหรือป่า - ถุงใส่ของที่เก็บ - น�้ ำส� ำหรับล้างแปรง - แป้งเปียกในกระป๋องเล็ก ๆ การจูงใจ กิจกรรมนอกสถานที่เป็นการจูงใจเด็ก ๆ แต่ควรให้ท� ำเป็นระบบดังกล่าวข้างต้น เพื่อเป็นแนวทาง การท� ำงาน หลังจากกลับมาให้เด็กใช้วัสดุที่เก็บมาสร้างงานศิลปะ หรือสร้างงานที่ออกแนวลึกลับ วิธีปฏิบัติ เมื่อกลับจากภาคสนาม น� ำสิ่งเก็บได้มากองไว้ ให้แนวการจัดแยก และอภิปรายสิ่งที่พบงานศิลปะ สิ่งปะติดเป็นรูปแบบตามตกลงกันในชั้นเรียน สร้างเป็นงานจากสิ่งที่พบและเก็บมา ซึ่งแตกต่างจากงานของ ศิลปินที่สร้างขึ้นโดยศิลปิน การสร้างงานศิลปะต้องวางแผนเพื่อจะได้ใส่วัสดุธรรมชาติได้เต็มที่ และไม่สะเปะสะปะ บรรจุ สิ่งที่มองดูน่าสนใจ ซึ่งมักเป็นวัสดุขนาดใหญ่ชิ้น ๑-๒ ชิ้น เมื่อได้รูปแบบแล้ว ทาแป้งเปียกลงบนหน้ากระดาษแข็ง แล้วแปะวัสดุที่เก็บมา แล้วน� ำไปวาง ปล่อยให้แห้งข้ามคืน สิ่งที่ติดที่มีขนาดใหญ่เกินหรือเป็นก้อนที่อาจหนักเกินที่จะติดได้ จะเป็นการสร้าง แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ถึงเรื่องน�้ ำหนัก แรงโน้มถ่วง และความสามารถรองรับของแป้งเปียก รูปที่ ๕ ภาพเด็กอายุ ๘ ปี ก� ำลังแยกวัสดุธรรมชาติ ที่เก็บมาจากการออกไปภาคสนาม และเตรียมท� ำ ศิลปะแบบปะติด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=