สำนักราชบัณฑิตยสภา
ศิ ลปะกั บวิ ทยาศาสตร์ 248 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 กิจกรรมก่อความอยากรู้อยากเห็นเชิงวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น การปิด : ให้นักเรียนได้ศึกษาผลงานที่แสดงที่หน้าต่างห้องเรียน ภาพบนหน้าต่างและการศึกษา แสงสว่างก่อให้เกิดแนวคิดหน้าต่างกระจกสี นักเรียนควรศึกษาภาพวาดของนักวาดภาพแสดงออกแบบ นามธรรม ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกัน เพื่อน� ำไปติดหน้าต่างกระจก ให้ปิดกั้นแสงหมดในบางส่วนและท� ำให้ สลัวลงในบางส่วน งานศิลปกรรมปะติดวัสดุธรรมชาติ จุดมุ่งหมายและเหตุผล ความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างวิทยาศาสตร์กับศิลปะอาจแสดงได้โดยให้เด็กออกภาคสนามไปเก็บ วัสดุธรรมชาติต่าง ๆ (รูปที่ ๕ และ ๖) รวมถึงการศึกษาปรากฏการณ์ เช่น ใบไม้ หญ้า วัชพืช ต้นไม้ กิ่งไม้ เปลือกไม้ เด็ก ๆ จะสามารถเรียนรู้เปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไร้ชีวิต และแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม การตัดสินใจในรายละเอียดของแนวคิดด้านความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับศิลปะขึ้นอยู่ กับระดับความสนใจของชั้นเรียน ซึ่งควรได้อภิปรายกันก่อนออกไปภาคสนามว่าควรเก็บอะไรบ้าง และ ระหว่างที่ท� ำกิจกรรมอยู่ภายนอก เด็กควรบันทึกการสังเกตต่าง ๆ เป็นภาพวาดด้วย วัสดุที่ใช้ - แปรงขนาดขนครึ่งนิ้ว - กระดาษแข็งขนาด ๖ x ๑๐ นิ้ว - วัสดุธรรมชาติ ได้แก่ ใบไม้ เปลือกไม้ และหญ้า - กระดาษหนังสือพิมพ์เก่า รูปที่ ๔ การท� ำหน้าต่างกระจกสี : ภาพเด็กพิการทางกายอายุ ๙ ปี ก� ำลังส� ำรวจและเหลาดินสอเทียนสีอ่อนแก่
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=