สำนักราชบัณฑิตยสภา

245 เลิ ศศิ ริ ร์ บวรกิตติ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ ทางศิลปะจึงต้องส่งเสริมความรู้เรื่องสื่อวัสดุศิลป์ต่าง ๆ ซึ่งมีทางเดียวที่เด็กสามารถรักษาความรู้ดังกล่าว ได้โดยการส� ำรวจเท่านั้น การส� ำรวจเป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการศิลปะทั้งหมด ดังนั้น หากท� ำงานศิลปะ เพียงเพื่อการส� ำรวจ เป็นการส� ำคัญผิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ทางศิลปะ ศิลปะไม่ใช่เพียงการส� ำรวจ แต่ต้อง แสดงออกซึ่งความคิดเห็น ความรู้สึก และประสบการณ์ การแสดงออกต้องอาศัยความสามารถและทักษะ ศิลปะและความรู้เกี่ยวกับสื่อวัสดุที่จะใช้เพื่อแสดงออก รูปที่ ๑ ภาพถ่ายศิลปินอายุ ๙ ปี ยืนเคียงข้างผลงานภาพเหมือนขนาด เท่าจริงของเธอ เป็นกิจกรรมที่เสริมเจตคติทางวิทยาศาสตร์ จากค� ำถาม ให้เกิดความอยากรู้อยากเห็นความสูงของตัวเธอ การแต่งตัวให้ภาพเกิด จากการตัดสินใจเลือกสื่อวัสดุและการประดิษฐ์คิดค้น ความตั้งใจของเธอ ที่จะลองท� ำและจะส� ำเร็จหรือล้มเหลวเป็นความกังขาและการยอมรับผิด เนื่องจากกระบวนการค่อนข้างยืดเยื้อ แต่เด็กก็ยืนกรานสู้จนท� ำแล้วเสร็จ รูปที่ ๒ ภาพถ่ายเด็กชายอายุ ๖ ปีก� ำลังง่วนอยู่กับการสร้างว่าว เพื่อ แสดงองค์รวมของกิจกรรมศิลปะและวิทยาศาสตร์ งานศิลปะคือปิด กระดาษว่าว แต่งสีแต่งภาพ การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์คือการปล่อย ว่าวขึ้นสู่อากาศเมื่อมีลม รูปที่ ๓ ภาพถ่ายเด็กหญิงพิการอายุ ๘ ปี แสดงผลงานการ ส� ำรวจการท� ำซ้อนเกยกันของกระดาษเยื่อกับดินสอเทียนที่ หลอมเหลว

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=