สำนักราชบัณฑิตยสภา

จุดตั ดทางรถไฟ 214 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 ในกรณีที่มีการก่อสร้างจุดตัดทางรถไฟ ไม่ว่าจะกระท� ำโดยหน่วยงานราชการหรือโดยบุคคลอื่น ซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการโดยลักลอบท� ำทางตัดผ่าน หากต่อมามีบุคคลอื่นได้รับความเสียหาย เช่น ผู้ที่ขับรถยนต์ ผ่านจุดตัดทางรถไฟดังกล่าวนั้น มีปัญหาว่าหน่วยงานราชการหรือบุคคลนั้นต้องรับผิดต่อความเสียหายที่ เกิดขึ้นหรือไม่ ค� ำตอบในเรื่องนี้น่าจะเป็นว่าหน่วยงานราชการหรือบุคคลดังกล่าวไม่ควรจะต้องรับผิดทั้ง ทางแพ่งและทางอาญา เพราะการท� ำทางตัดผ่านดังกล่าวยังถือไม่ได้ว่าบุคคลนั้นกระท� ำการโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเล่อโดยตรงที่ก่อให้เกิดความเสียหาย แต่เป็นเพราะการประมาทเลินเล่อของพนักงานขับรถไฟ หรือผู้ขับขี่ยานพาหนะผ่านจุดตัดดังกล่าวโดยตรง ซึ่งเป็นการกระท� ำที่ใกล้ชิดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ไขเพื่อลดอุบัติเหตุจากการท� ำทางตัดผ่านโดยไม่ได้รับอนุญาตจากการรถไฟแห่ง ประเทศไทย อาจท� ำได้ดังนี้ (๑) ในกรณีของจุดตัดทางรถไฟที่ไม่ได้รับอนุญาตที่มีอยู่แล้วและที่อาจจะเกิดขึ้นใหม่ ควรมีการ ประกาศให้สาธารณชนทราบว่า เป็นทางลักผ่านที่มิได้รับอนุญาตจากการรถไฟแห่งประเทศไทยโดยติดตั้ง ป้ายข้อความชนิดถาวร ณ บริเวณจุดตัดนั้น ๆ เพื่อให้ทราบโดยทั่วกัน จนกว่าจะมีการอนุญาตให้ถูกต้อง หรือมีการยกเลิกจุดตัดทางรถไฟนั้น ๆ (๒) เพื่อยกระดับความปลอดภัยในระหว่างที่การพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ท� ำจุดตัดทาง รถไฟ ควรท� ำหนังสือแจ้งเตือนให้มีการติดตั้งเครื่องหมายจราจร (ป้ายหยุด) เครื่องหมายหรือสัญญาณ จราจรใด ๆ ที่อยู่บนบริเวณจุดตัดทางรถไฟ โดยให้หน่วยงานราชการบริหารส่วนท้องถิ่นหรือโดยบุคคลอื่น ที่ก่อสร้างถนนผ่านทางรถไฟเป็นผู้รับผิดชอบ และหากยังไม่มีการด� ำเนินการให้ถูกต้องภายในเวลาอันควร การรถไฟแห่งประเทศไทยควรท� ำหนังสือแจ้งเตือนหน่วยงานราชการบริหารส่วนท้องถิ่นหรือโดยบุคคลอื่น ให้ด� ำเนินการแก้ไขเพื่อเป็นหลักฐานแสดงถึงเจตนาของการรถไฟแห่งประเทศไทยในการด� ำเนินการที่จะ ท� ำให้เกิดความปลอดภัยบริเวณจุดตัดทางรถไฟ (๓) หากเป็นกรณีที่มีการลักลอบท� ำถนนตัดผ่าน ไม่ว่าโดยหน่วยงานราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือโดยบุคคลอื่น แต่การรถไฟแห่งประเทศไทยไม่สามารถปิดกั้นหรือห้ามมิให้มีการลักลอบใช้ได้ เพราะ จะถูกประชาชนประท้วงกลายเป็นปัญหาบานปลายขึ้น การรถไฟแห่งประเทศไทยควรแก้ปัญหาโดยการ ประสานงานกับหน่วยงานราชการบริหารส่วนท้องถิ่นให้จัดหางบประมาณมาด� ำเนินการจัดท� ำจุดตัดทาง รถไฟให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ก� ำหนดไว้ในข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวงคมนาคมกับกระทรวง มหาดไทย ส่วนการแก้ไขกฎหมายในกรณีที่มีการขออนุญาตก่อสร้างจุดตัดทางรถไฟ แม้จะเคยมีความตกลง ระหว่างกระทรวงคมนาคมกับกระทรวงมหาดไทยแล้วก็ตาม ความตกลงไม่ได้มีผลเป็นกฎหมายและไม่มี ผลถึงการกระท� ำของบุคคลอื่นที่ไม่ใช่หน่วยงานราชการบริหารส่วนท้องถิ่นที่ท� ำทางตัดผ่าน แต่การที่พระ ราชบัญญัติจัดวางการรถไฟแลทางหลวง พระพุทธศักราช ๒๔๖๔ ไม่ได้บัญญัติไว้อย่างชัดเจนว่าในกรณีดัง

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=