สำนักราชบัณฑิตยสภา
171 ชาย โพธิสิ ตา วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ รูปที่ ๑ ต้นทุนท� ำการเกษตรส� ำหรับชาวนาขนาดกลาง ที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในจังหวัดสุพรรณบุรี ปีการ เพาะปลูก ๒๕๔๔/๒๕๔๕ โดยเฉพาะปุ๋ยเคมีและสารเคมีก� ำจัดศัตรูพืชนั้น กล่าวได้ว่าแทบจะขาดเสียมิได้ส� ำหรับการเกษตร ในปัจจุบัน ส่งผลให้ปริมาณและมูลค่าน� ำเข้าปุ๋ยเคมีและสารเคมีการเกษตรสูงขึ้นมาตลอด (ดูรูปที่ ๒) เนื่องจากประเทศไทยไม่ได้ผลิตสารเคมีเหล่านี้ รายงานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๓ ระบุว่า ประเทศไทยมีพื้นที่การเกษตรมากเป็นอันดับที่ ๔๘ ของโลก แต่ใช้สารเคมีก� ำจัด วัชพืชมากเป็นอันดับที่ ๔ ของโลก (Prachason, 2009) ประเทศไทยมีจ� ำนวนสารเคมีที่ขึ้นทะเบียนการค้า มากที่สุดในเอเชีย คือมี ๒๗,๑๒๖ ชื่อ/ทะเบียน (ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ, ๒๕๕๕) ที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า การเกษตรทุกวันนี้คือเกษตรที่ต้องใช้ทุนมาก ต้นทุนการผลิตของครัวเรือน เกษตรกรสูงขึ้นมาตลอด เพราะเทคโนโลยีการเกษตรนั้นราคาแพงขึ้นไม่หยุด ต่างจากผลผลิตการเกษตร ซึ่งบางปีราคาก็ดี แต่บางปีราคาไม่ดี เกษตรกรจึงเสี่ยงมาก ที่มา วิฑูรย์ เลี่ยนจ� ำรูญ และคณะ, ๒๕๕๑
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=