สำนักราชบัณฑิตยสภา

117 อุดม วโรตม์สิ กขดิ ตถ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๕ ๔. ค� ำว่า คลินิก ออกเสียงว่า [คลิหฺนิก] ให้เขียนเป็น คลิหฺนิก ค� ำว่า คาทอลิก ออกเสียง ว่า [คาทอหลิก] ให้เขียนเป็น คาทอหลิก ค� ำว่า บัญญัติ ออกเสียงว่า [บันหยัด] ให้เขียนเป็น บัญหฺญัติ อิเล็กทรอนิกส์ ออกเสียงว่า [อิเล็กทรอหฺนิกส์] ให้เขียนเป็น อิเล็กทรอหนิกส์ ไฮดรอหลิกส์ คิดว่าคนไทย จะรับได้ไหม และถ้าต้องมีการเติม ห น� ำ เพื่อจะออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขรวิธีไทย จะมีเอกสารที่จะต้อง แก้ไขอีกจ� ำนวนเท่าไร และจะเสียค่าใช้จ่ายอีกเป็นจ� ำนวนเท่าไร ๕. นักภาษาไทยไม่เคยบอกว่า อักษรกลางเมื่อน� ำอักษรต�่ ำเดี่ยวที่เป็นค� ำตายนั้นอนุญาตให้มี อักษรอะไรหรือสระอะไรแทรกได้กี่ตัวจึงจะออกเสียงได้เหมือนมี ห น� ำ เช่น กนก [กะหฺนก] (ทองค� ำ), กรก [กะหฺรก] (ลูกเห็บ), กรอด [กะหฺรอด] (นกปรอด), กระเลียด [กระเหฺลียด] (เกลียด), กระเลือก [กระเหฺลือก] (เกลือก), กากณึก ๑๑ [กากะหฺนึก] (ทรัพย์มีค่าเท่ากาพาไปได้), ก� ำนัด [ก� ำหฺนัด], ก� ำเนิด [ก� ำเหฺนิด], ก� ำเนียจ [ก� ำเหฺนียด] (เกียจ,โกง), ก� ำราก [ก� ำหฺราก] (ช้างตกมัน), ก� ำราบ [ก� ำหฺราบ] (ท� ำให้เข็ดหลาบ, ท� ำให้กลัว, ท� ำให้สิ้นพยศ, ท� ำให้สิ้นฤทธิ์), จัตุรัส [จะตุหฺรัด], จมูก, จรด [จะหฺรด], จรวจ [จฺรวด] ๑๒ (กรวด, หลั่งน�้ ำ), จรวด [จะหฺรวด], จรัส [จะหฺรัด], จริต [จะหฺริด], จ� ำรัส, จักรวรรดิ [จักกระหวัด] (รัฐหรือสหภาพของรัฐต่าง ๆ), จ� ำนับ [จ� ำหฺนับ], จ� ำหนับ [จ� ำหฺนับ], จ� ำเลาะตา [จ� ำเหฺลาะตา] (ไม้ไผ่ซีกที่มีตาไม้ติดอยู่), ด� ำรัส, ด� ำริ, ต� ำรวจ, ต� ำรับ [ต� ำหฺรับ], ต� ำรุ [ต� ำหฺรุ]) (ที่ขังคน), บ� ำราบ [บ� ำหฺราบ] (ท� ำให้กลัว), บรัด [บะหฺลัด] (แต่ง), บรั่นดี, บรัศว์ [บะหฺรัด] (ข้าง, สีข้าง; ฟ้าดิน), ปรวด [ปะหฺรวด] (เนื้อที่เป็นก้อนอยู่ใต้ผิวหนัง; โปรด), ปรอด [ปะหรอด] (นกชนิดหนึ่ง), ปรอท ประมาท, ประโยค, ประโยชน์, ประวัติ, ปรัก [ปฺรัก] ๑๓ (เงิน), ปรัก [ปะหฺรัก] (หัก,ช� ำรุด), ปรัด [ปะหฺรัด] (แต่ง), ปลัด [ปะหฺลัด], อุปราช [อุบปะหฺราด], อุปโลกน์ [อุบปะโหฺลก] (ยก ขึ้นเป็น) ที่ออกเสียงเหมือนมี ห น� ำ ท� ำไมนักภาษาไทยจึงไม่ท� ำการศึกษาวิจัยเพื่อหาค� ำตอบให้ได้เสียก่อน ๖. อักษรกลางเมื่อน� ำอักษรต�่ ำเดี่ยวในค� ำต่อไปนี้ที่เป็นค� ำตาย ท� ำไมจึงออกเสียงเหมือนมี ห น� ำ ไม่ได้เพราะอะไร เช่น กณิกนันต์ [กะนิกนัน] ๑๔ (ละเอียดยิ่ง), กนิษฐ์ (น้อยที่สุด), กมุท (บัว), ก� ำเริบ [ก� ำเริบ], จ� ำแนก, จ� ำโนทย์ (ฟ้อง), จ� ำเลาะ (ทะเลาะ), บ� ำราศ [บ� ำราด] (หายไป), ประวรรต [ปฺระวัด] (เป็นไป), ประวรรตน์ [ปฺระวัด] (ความเป็นไป), ประวาต [ปฺระวาด] (พัด, กระพือ), ประวาส (ประพาส), ประวิช (แหวน), ประวิตร (บพิตร, สะอาด), อุปโยค [อุบปะโยก] (การใช้สอย), อุปเวท [อุบปฺะเวด] (คัมภีร์ “พระเวทรอง”), อนิษฏ์ (ไม่ปรารถนา), อนุปัสนา, ประนัปดา (เหลน), กมุท (บัว), อุปโยค (การใช้สอย), อุปเวท (คัมภีร์ “พระเวทรอง”) ท� ำไมไม่สงสัยกันบ้างหรือว่าค� ำนี้ท� ำไมไม่ออกเสียงว่า [ประหนับดา] เพราะ ประมาท ยังออกเสียงเป็น [ประหมาด] ได้ ๑๑ เป็นที่น่าสังเกตว่าค� ำที่มีเสียง [อึ] มักจะมี ห น� ำ เช่น กากณึก ปัจนึก ซึ่งออกเสียงได้ ๒ อย่าง คือ [ปัดจะหนึก] และ [ปัดจะนึก] แต่ อนึก (กองทัพ) ออกเสียงแบบไม่มี ห น� ำ ส่วน อธึก ไม่มีทางออกเสียงเป็น [อถึก] เพราะ <ธ> ไม่ใช่อักษรต�่ ำเดี่ยว ๑๒ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หน้า ๒๘๙ ก� ำหนดให้อ่านควบกล�้ ำนั้นมีคนไทยคนไหนอ่านได้จริงตามที่กล่าวไว้ใน พจนานุกรม ๑๓ เป็นค� ำที่ออกเสียงกล�้ ำ ไม่ใช่ออกเสียงเป็นอักษรน� ำเหมือนค� ำถัดไป คือ ปรัก [ปะหรัก] (หัก, พัง, ช� ำรุด) ๑๔ ให้เทียบกับ กากณึก [กากหนึก] ในเชิงอรรถที่ ๑๐. ซึ่งไม่ออกเสียงแบบอักษรน� ำ มีวิธีใดบ้างที่สามารถแยกความเป็นอักษรน� ำได้

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=