สำนักราชบัณฑิตยสภา

ค� ำปรารถเรื่ องการแทรก ห น� ำ ในค� ำที่ มาจากภาษาต่างประเทศ 114 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 37 No. 4 Oct-Dec 2012 จ� ำนับ [จ� ำหนับ], จ� ำเลาะตา [จ� ำเหฺลาะตา] (ไม้ไผ่ซีกที่มีตาไม้ติดอยู่), ตนุ ๘ [ตะหนุ] (เต่าชนิดหนึ่ง), บ� ำราบ [บ� ำหฺราบ] (ปราบ, ท� ำให้ราบ, ท� ำให้กลัว), บรัด [บะหฺลัด] (แต่ง), บรัศว์ [บะหฺรัด] (ข้าง, สีข้าง;ฟ้าดิน), ปรวด [ปะหฺรวด] (เนื้อที่เป็นก้อนอยู่ ใต้ผิวหนัง; โปรด), ปรอด [ปะหฺรอด] (นกชนิดหนึ่ง), ปรอท [ปะหฺรอด], ประมาท [ประหฺมาด], ประโยค [ประโหฺยก], ประโยชน์ [ประโหฺยด], ประวัติ [ปะหฺวัด], ปรัก [ปะหฺรัก] (หัก, ช� ำรุด), ปรัด [ปะหฺรัด] (แต่ง), ปลัด [ปะหฺลัด] ออกเสียงโดยมี ห น� ำ นักภาษาไทยไม่เคยบอกว่าความแรงเชิงแม่เหล็กหรือของอักษรกลางที่สามารถแผ่ ขยายไปสู่อักษรต�่ ำเดี่ยวที่ตามมานั้นสามารถจะมีพยัญชนะ สระ (หรือแม้แต่วรรณยุกต์ แทรกได้กี่ตัวจึงจะถือว่าให้มี <ห> แทรกหน้าอักษรต�่ ำเดี่ยวได้ ซึ่งสามารถจะประยุกต์ ได้จากเกณฑ์การเคียงข้าง (adjacency criterion) ท� ำไมนักภาษาศาสตร์ภาษาไทยและ นักภาษาไทยไม่พยายามหาค� ำตอบนั้นเสียก่อน ๑.๑๒ อักษรกลางกล�้ ำอักษรต�่ ำเดี่ยว <ร> หรือ <ล> ที่เป็นค� ำเป็น เช่น กรอง, กรี (โครง แข็งแหลมที่หัวกุ้ง), กลอน, ปรน, ปล้น ออกเสียงแบบกล�้ ำเสียงวรรณยุกต์ออกเสียง ตามอักษรกลางที่เป็นพยัญชนะต้น ๑.๑๓ อักษรกลางกล�้ ำอักษรต�่ ำเดี่ยว <ร> หรือ <ล> ที่เป็นค� ำตาย เช่น กรอด ๙ , กรอด [กฺรอด] (เซียวลง; เสียงกัดฟัน), ปรัก [ปฺรัก] ๑๐ (เงิน) ออกเสียงแบบกล�้ ำเสียงวรรณยุกต์ ออกเสียงตามอักษรกลางที่เป็นพยัญชนะต้น ๑.๑๔ อักษรกลางควบอักษรต�่ ำเดี่ยว <ว> ที่เป็นค� ำเป็น เช่น กว่า กว้าง แกว่น ๑.๑๕ อักษรกลางควบอักษรต�่ ำเดี่ยว <ว> ที่เป็นค� ำตาย เช่น กวัก กวาด ๑.๑๖ อักษรกลาง <บ> ในภาษาไทยมีพฤติกรรมแตกต่างไปจากอักษรกลางอื่น จะออก เสียงเป็น [บอ] ในค� ำ บ บ่ บดี บพิตร บพิธ และเมื่อน� ำหน้า <ร> เช่น บริบูรณ์ [บอ ริบูน], บริษัท, บริรักษ์ (ดูแล) ออกเสียงเป็น [บะ] เฉพาะในค� ำว่า บรั่นดี [บะหฺรั่นดี], บราลี [บะราลี] ออกเสียงกล�้ ำ เช่น บราเซีย [บฺราเซีย] ๑.๑๗ อักษรกลาง <ด> น� ำหน้าอักษรต�่ ำเดี่ยวที่เป็นค� ำเป็น เช่น ดนัย [ดะนัย] (ฉัน), คนุ [ดะนุ] (ฉัน, ข้าพเจ้า), ดรงค์ (คลื่น), ดรุณ (สาว, อ่อน, รุ่น), ด� ำรง [ด� ำรง] (ตรง), ด� ำรู [ด� ำรู] (งาม), ด� ำรี [ด� ำรี] (ช้าง), ด� ำไร [ด� ำไร] (ช้าง) ออกเสียงโดยไม่มี ห น� ำ ๘ ค� ำนี้พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หน้า ๔๒๓ ไม่ได้บอกที่มาของค� ำ หากบอกคงจะช่วยได้มากขึ้น ๙ เป็นค� ำที่ออกเสียงกล�้ ำ ไม่ใช่ออกเสียงเป็นอักษรน� ำ ขอให้สังเกตว่า ศัพท์ค� ำว่าอักษรน� ำนั้นปรมาจารย์ทางภาษาไทยเรียกแตกต่างกันไป พระยาอุปกิตศิลปสาร (๒๕๓๕: ๒๑) กล่าว่าดิลก อ่านว่า ดิ-หฺลก ประโยค อ่านว่า ประโหยค ค� ำเหล่านี้เป็นพิเศษจะนับว่าอักษรน� ำไม่ได้ ๑๐ เป็นค� ำที่ออกเสียงกล�้ ำ ไม่ใช่ออกเสียงเป็นอักษรน� ำ ก� ำชัยทองหล่อ (๒๕๓๗: ๘๘-๙๐) ถือว่าอักษรน� ำ คือพยัญชนะ ๒ ตัวร่วมอยู่ใน สระตัวเดียวกัน บางค� ำก็ออกเสียงร่วมกันสนิท บางค� ำก็ออกเสียงคล้ายเป็น ๒ พยางค์ เช่น เฉพาะเป็นอักษรน� ำ ฉะเพาะไม่เป็นอักษรน� ำ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=