ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ลิขิต ธีรเวคิน 41 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ชายแดนภาคใต ซึ่งคนนับถือศาสนาอิสลามได กลายเป นเหยื่อของความขัดแย ง ถ ามีการปฏิบัติการ ที่รุนแรงก็อาจถูกคัดค านจากประเทศเพื่อนบ าน เช น อินโดนีเซีย มาเลเซีย เพราะถือว าเป นพี่น อง ร วมศาสนา อาจนําไปสู ความขัดแย งทางการเมืองได ข ) ประวัติศาสตร ของแต ละประเทศซึ่งเขียนขึ้นเพื่อความภูมิใจในบรรพบุรุษ และเพื่อสร าง วีรกรรมของบรรพบุรุษ อาจไม สอดคล องกัน ในส วนนี้ถ าไม สามารถตกลงกันได ด วยการทําความเข าใจ ร วมกัน ย อมทําให เป นอุปสรรคต อการสร างความรู สึกเป นหนึ่งเดียวในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ค ) กฎหมายของแต ละประเทศอาจมีความเหลื่อมกันอยู เช น ประเด็นเรื่องสัญชาติที่ซํ้าซ อน กันของคนที่อยู ชายแดน หรือบุคคลไร สัญชาติที่อยู ในประเทศไทยหรือประเทศอื่น อาจต องมีการหา ทางออกด วยการให มีสัญชาติอาเซียน หรือในกรณีที่มีการลงโทษด วยการเฆี่ยนด วยหวายที่สิงคโปร หรือ การลงโทษที่รุนแรงสําหรับผู ค ายาเสพติด อาจนําไปสู ความขัดแย งในมาตรการของการลงโทษซึ่งเป นเรื่อง ที่ต องมีการเจรจาหาทางออกให เป นที่ยอมรับกันได ของทุกฝ าย ง ) การปกครองบริหาร ในกรณีของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย ถ ามีการละเมิด หลักการสําคัญ ยากยิ่งที่จะไม ให ประชาชนหรือองค กรเอกชนของประเทศสมาชิกอาเซียนแสดงจุดยืน คัดค านไม เห็นด วย ซึ่งจะเป นการแทรกแซงเรื่องภายในของประเทศสมาชิกอาเซียน แต เมื่อรวมอยู ใน ชุมชนเดียวกัน โอกาสของการกระทบกระทั่งดังกล าวย อมหลีกเลี่ยงได ยาก ในส วนของการบริหารนั้น การฉ อราษฎร บังหลวง กฎระเบียบที่ล าสมัย อาจนําไปสู ความขัดแย งและเป นประเด็นทางการเมือง โดยเฉพาะอย างยิ่งกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน กฎหมายเกี่ยวกับเงินตรา กฎหมายเกี่ยวกับภาษีการค า เป นต น จ ) การแข งขันระหว างจีน ซึ่งมีความสัมพันธ ที่ใกล ชิดกับประเทศไทย พม า กัมพูชา ลาว ฯลฯ กับสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความสัมพันธ ที่ใกล ชิดกับญี่ปุ น เกาหลีใต ฟ ลิปป นส และ / หรือสิงคโปร จะสะท อน ถึงภาพของการแข งขันของมหาอํานาจที่จะดึงเอาประเทศสมาชิกอาเซียนบางส วนเข าไปเกี่ยวพัน ซึ่งอาจ ส งผลกระทบต อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได นอกเหนือจากที่กล าวมาทั้งหมด ยังมีประเด็นที่อาเซียนจะต องมีการตกลงกันในอนาคตคือ สภาอาเซียน (ASEAN parliament) ธนาคารพัฒนาอาเซียน (ASEAN development bank) กองทุน อาเซียน (ASEAN fund) เงินตราอาเซียน (ASEAN currency) และมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN university) แต ที่สําคัญที่สุดก็คือ การปรับตัวของคนที่จะต องถ วงดุลระหว างชาตินิยม (nationalism) และภูมิภาคนิยม (regionalism) ขณะเดียวกันก็ต องรับความเป นจริงของโลกานิยม (globalism) ความขัดแย งดังกล าวนี้จะออกมาในรูปของเอกลักษณ อาเซียน (ASEAN identity) ซึ่งจะขัดแย งกับ เอกลักษณ ของแต ละชาติ ความคิดเรื่องประชาชนอาเซียน จะขัดแย งกับความเป นประชาชนของ 23-49 Mac9.indd 41 10/8/13 7:12 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=