ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
วงเดือน นาราสัจจ 259 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ การศึกษาที่จัดการภายใต การดูแลของเจ าหน าที่รัฐบาล เป นการจัดการศึกษาตามที่กฎหมาย กําหนดให พลเมืองสหรัฐอเมริกาทุกคนได รับการศึกษา จึงมีการสร างโรงเรียนระดับมัธยมขึ้นในค ายอพยพ ทุกแห ง ส วนห องเรียนระดับประถมให ดัดแปลงเรือนนอนเป นชั้นเรียน โดยจ างครูที่มีความรู ตามเกณฑ ของแผนกศึกษาธิการของมลรัฐ ทั้งนี้ ครึ่งหนึ่งของครูที่สอนในค ายอพยพก็คือผู อพยพชาวอเมริกัน เชื้อสายญี่ปุ นนั่นเอง นอกจากนี้ ยังมีการสอนด านอาชีวศึกษาให แก ผู อพยพด วย โดยดัดแปลงเรือนนอน เป นชั้นเรียนเช นกัน การศึกษาที่จัดการศึกษานอกเวลาโดยผู อพยพ ก อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ชาวอเมริกัน เชื้อสายญี่ปุ นได จัดตั้งโรงเรียนสอนภาษาญี่ปุ นขึ้นตามเมืองต าง ๆ ทางชายฝ งตะวันตก แต รัฐบาล ไม อนุญาตให มีโรงเรียนสอนภาษาญี่ปุ นในค ายผู อพยพ ดังนั้น จึงมีการสอนภาษาญี่ปุ นกันเองภายในกลุ ม ของผู อพยพ รวมทั้งการสอนภาษาอังกฤษสําหรับพวกอิสเซที่ไม สามารถอ านหรือเขียนภาษาอังกฤษ ได ตลอดจนการสอนวิชาเกี่ยวกับวัฒนธรรมญี่ปุ น เช น การฟ อนรํา การจัดดอกไม แบบญี่ปุ น ส งผล ให ชาวอเมริกันเชื้อสายญี่ปุ นสามารถปลูกฝ งความรู เกี่ยวกับภาษาและศิลปวัฒนธรรมญี่ปุ น ให แก ชนรุ นใหม ที่เกิดในสหรัฐอเมริกา และไม เคยสนใจวัฒนธรรมดั้งเดิมของบรรพบุรุษ อนึ่ง นักศึกษาชาวอเมริกันเชื้อสายญี่ปุ นที่เรียนอยู ในระดับอุดมศึกษาและต องหยุดเรียน กลางคันเนื่องจากถูกบังคับให ย ายเข าไปอยู ในค ายอพยพนั้น หากต องการกลับเข าไปเรียนเพื่อให จบ หลักสูตร จะต องทําเรื่องขออนุญาตเพื่อให ตรวจสอบคุณสมบัติว ามีความจงรักภักดีต อสหรัฐอเมริกาจริง และเมื่อได รับอนุญาตแล วจึงสามารถออกจากค ายอพยพได แต รัฐบาลสหรัฐอเมริกาไม รับผิดชอบ ค าใช จ าย ศาสนา ผู อพยพส วนใหญ นับถือศาสนาพุทธ สําหรับศาสนาคริสต นิกายต าง ๆ ก็มีผู นับถือ รวมเกือบครึ่งหนึ่งของผู อพยพทั้งหมด และมีโอกาสประกอบศาสนกิจตามความเชื่อของตน โดยใช ห องในเรือนนอนเป นสถานที่ประกอบพิธีของแต ละนิกาย ส วนบาทหลวงและศาสนาจารย ก็คือผู อพยพ ด วยกันนั่นเอง นักบวชเหล านี้บางครั้งได รับโอกาสให ออกไปนอกค ายอพยพ เพื่อร วมกิจกรรมขององค กร ทางศาสนาที่ตนสังกัด สําหรับผู ที่นับถือศาสนาพุทธก็มีพิธีกรรมตามความเชื่อในเทศกาลต าง ๆ และ งานศพ เป นต น นันทนาการ การจัดกิจกรรมนันทนาการเป นสิ่งสําคัญที่ช วยฟ นฟูจิตใจให แก ชาวอเมริกัน เชื้อสายญี่ปุ นที่ถูกจํากัดบริเวณในค ายอพยพ ก อนหน านั้น พวกเขาซึ่งส วนใหญ ต องทํางานหนักในภาค เกษตรกรรมไม ค อยมีกิจกรรมนันทนาการมากนัก ยกเว นในเทศกาลพิเศษประจําป แต เมื่อมาอยู รวมกัน ในค ายอพยพและมีเวลาว างมากจึงมีการจัดกิจกรรมนันทนาการหลากหลายเพื่อเป ดโอกาสให ผู อพยพ 242-268 Mac9.indd 259 10/8/13 7:37 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=