ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
สัญชัย สุวังบุตร 233 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ภายในตัวของ “ แม ” อาจจะมีข อยกเว นบ าง แต หลายครั้งผู อ านก็สังเกตได ว าบ างครั้ง “ แม ” ก็ยอมจํานน ต อแนวทางการเมืองอย างง ายดาย เป นต นว า “ แม ” ไม เห็นด วยกับการที่เพื่อนของปาเวลจะฆ าคนเพราะ เขาไม มีทางเลือก ทั้งบุคคลที่ตกเป นเหยื่อก็คือชนชั้นผู กดขี่ แต “ แม ” ก็สลัดความรู สึกขัดแย งได สําเร็จ หลังจากที่ปาเวลชี้ว า “... ถ าแม มองเห็นว ามันเลวทรามตํ่าช าและน าอัปยศสักเพียงใดแล วละก็ แม คงจะ เข าใจสัจธรรมที่พวกเรากําลังต อสู ช วงชิงอยู นี้ได แจ มชัดทีเดียว แม จะเห็นได ทีเดียวว ามันดีงามและยิ่งใหญ สักเพียงใด ...” ( หน า ๒๕๔ ) ในเวลาต อมา “ แม ” ได กลายเป นผู ปฏิบัติงานปฏิวัติที่แข็งขัน อีกทั้งยังดื่มดํ่ากับความสัมพันธ ฉันสหายร วมอุดมการณ และชื่นชมกับชีวิตของเหล านักปฏิวัติผู ยอมเสียสละความสุขส วนตัวเพื่อส วนรวม ผู อ านอาจตั้งคําถามว าในกรณีที่การต อสู ต องจบด วยการเข นฆ าและความรุนแรง นักปฏิวัติจะมีสํานึกผิด ชอบต อการกระทําของเขามากน อยเพียงไร กอร คีไม ได ตอบป ญหาดังกล าวอย างชัดเจนและหลีกเลี่ยงที่ จะอภิปรายให เห็นถึงแก น แม ความขัดแย งภายในใจของอันไดรสหายร วมอุดมการณ ของปาเวลเกี่ยวกับ การฆ าคนอาจจะให คําตอบแก ผู อ านได แต เขาก็หลีกเลี่ยงที่จะพูดถึงป ญหาของมโนธรรม ความรุนแรง และการฆ าฟ นดูเป นหน าที่และความรับผิดชอบโดยเฉพาะกับชนชั้นกดขี่ อันไดรกล าวว า “... เพื่อสหาย ของผมและอุดมการณ ของเรา ผมทําได ทุกอย างไม ว าอะไร ... ผมอาจฆ าได แม กระทั่งลูกในไส ของผมเอง ... เราถูกบังคับให จําต องเกลียดชังบางคนก็เพื่อเร งรัดการมาถึงยุคสมัยที่เราจะสามารถรักคนได ทั่วทุกคน เราต องกวาดล างทุกคนไม ว าใครที่ขัดขวางทางก าวหน าของเราออกไป ไม ว าใครที่เอาประชาชนไปขาย เป นเงินตราเพื่อเกียรติยศหรือความมั่นคงของตนเอง ...” ( หน า ๒๔๖ ) การปฏิวัติหรือวิธีการอันรุนแรง เพื่อจะบรรลุเป าหมายจึงอาจทําให ผู อ านบางกลุ มไม อาจยอมรับแนวทางปฏิบัติดังกล าวได แม นวนิยายเรื่อง “ แม ” จะมีลักษณะเป นนวนิยายเพ อฝ น (Utopian novel) แต ความคิด การเมืองและเรื่องราวการต อสู เพื่ออนาคตที่ดีงามซึ่งสะท อนผ านความหนักแน นจริงจังของตัวละครต าง ๆ โดยเฉพาะเปลาเกยาและปาเวลซึ่งเป นตัวละครเอกมีส วนทําให นวนิยายมีลักษณะสมจริง การต อสู และการกระทําที่สะท อนความเชื่อในอุดมการณ ปฏิวัติและความเด็ดเดี่ยวและความแข็งแกร ง ของวิญญาณการต อสู ของตัวละครเอกดังกล าว ตลอดจนการบรรยายถึงความหวังและความใฝ ฝ น ถึงภาพอนาคตที่งดงามและอื่น ๆ ได ทําให จินตนาการและความคาดหวังของเหล านักปฏิวัติ ซึ่งเป นนามธรรมที่ห างไกลกลายเป นรูปธรรมที่ใกล ชิดกับทัศนคติและสภาวะความเป นจริงที่ดํารงอยู ระบบกดขี่และความเลวร ายที่พวกเขาต างเกลียดชังและต อต านจึงแจ มชัดในความคิดของผู อ าน ความชิงชังเคียดแค นต อระบบสังคมอันกดขี่จึงกลายเป นพลังและแรงบันดาลใจที่ทําให ภาพอนาคต แห งสังคมนิยมและชัยชนะแห งการปฏิวัติดูอยู แค เอื้อม ป จจุบันกับอนาคตที่ถูกเชื่อมร อยเข าด วยกัน 225-241 Mac9.indd 233 10/8/13 7:34 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=