ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 16 สมเด็จพระนางเจ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการอนุรักษ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อม : มุมมองจากนักประวัติศาสตร โครงการที่เกี่ยวกับป าแบ งได เป นป าไม และป าชายเลน โครงการเกี่ยวกับป าไม ประกอบด วย โครงการ “ ตามรอยแม ของแผ นดิน ” การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติอุทยานแห งชาติดอยอินทนนท โครงการส งเสริมและพัฒนาการมีส วนร วมของชุมชนในพื้นที่ป าอนุรักษ ( สสอ .) พื้นที่ป าสิริกิติ์หรือพื้นที่ ป าฮาลา - บาลาจังหวัดยะลากับการรักษาพื้นที่ป าโครงการศูนย พัฒนาการเกษตรภูสิงห อันเนื่องมาจาก พระราชดําริ ( กรมป าไม ) จังหวัดศรีสะเกษ สําหรับป าชายเลนประกอบด วย โครงการพัฒนาป าไม ปากนํ้าปราณบุรี อันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการปลูกป าชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระนางเจ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ ๗๒ พรรษา ส วนโครงการเกี่ยวกับพืชและสัตว นั้น นอกจากสมเด็จพระนางเจ าฯ พระบรมราชินีนาถ จะทรงให ความสําคัญต อการอนุรักษ พืชป าและสัตว ป า รวมทั้งสัตว ทะเลที่หายากและแทบจะหมด ไปจากผืนแผ นดินไทยแล ว ยังทรงสนพระราชหฤทัยเรื่องเกี่ยวกับพืชและสัตว เศรษฐกิจด วย ทั้งนี้ เนื่องจากทรงพระเมตตาและพระมหากรุณาธิคุณที่จะให ประชาชนทุกคนบนผืนแผ นดินนี้มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นโดยเฉพาะ “ การกินอยู ” อย างยั่งยืนและพอเพียง ได ทรงส งเสริมให มีการศึกษาวิจัย เพื่อให มีการค นคว าวิธีการบํารุงและพัฒนาสายพันธุ สัตว และสายพันธุ พืชให มีคุณค าและ เป นประโยชน ยิ่งขึ้นแก มนุษย โครงการเกี่ยวกับสัตว เศรษฐกิจ เช น โครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระนางเจ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยกรมปศุสัตว ประกอบด วย ศูนย วิจัยและ บํารุงพันธุ สัตว เชียงใหม และสถานีทดสอบพันธุ สัตว แม ฮ องสอน และโครงการฟาร มตัวอย าง ตามพระราชดําริ ซึ่งโปรดเกล าฯ ให ตั้งอยู ในแทบทุกภูมิภาคของประเทศไทย เริ่มต นที่จังหวัดเชียงใหม ต อมาคือจังหวัดราชบุรี จังหวัดพัทลุง จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดสงขลา จังหวัดป ตตานี จนถึง จังหวัดอ างทอง ตามลําดับ ทั้งนี้มีพระราชประสงค ที่จะให ประชาชนมีธนาคารอาหาร (food bank) ไว เพื่อการบริโภคได แม ในยามเกิดทุพภิกขภัย ภาวะข าวยากหมากแพง หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ต าง ๆ รวมทั้งการให คนในพื้นที่ได เรียนรู ฝ กฝนการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและปศุสัตว เพื่อจะได มีอาชีพที่จะใช ในการดําเนินชีวิตต อไปอย างยั่งยืนและพอเพียงดังกล าวมาแล ว ในขณะเดียวกัน ก็เป นการช วยกันรักษาระบบนิเวศให แก พื้นที่ของตนโดยทางอ อมด วย ส วนในเรื่องพืชเศรษฐกิจ สมเด็จพระนางเจ าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงดําเนินการในเรื่องนี้ ด วยสายพระเนตรที่ยาวไกลว า พืชบางประเภทจะสามารถกลายเป นพืชเศรษฐกิจ ให อาชีพแก ประชาชน ได อย างยั่งยืนและไม ทําลายระบบนิเวศในพื้นที่ ดังจะเห็นได อย างชัดเจนในการส งเสริมให มีการศึกษา ค นคว าวิจัยพืชกัญชงทั้งในด านข อดีและข อเสีย ในที่สุด ก็พบว าพืชกัญชงมีคุณประโยชน ทั้งในด าน เศรษฐกิจและระบบนิเวศ โดยใช เวลาและการลงทุนไม มาก เมื่อได ข อสรุปจากการศึกษาวิจัยดังกล าว 1-22 Mac9.indd 16 10/8/13 7:07 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=