ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย 219 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ๔ . มุ งเป าหมาย “ เราชนะ ” นั่นคือทั้ง ๒ ฝ ายชนะด วยกัน โดยมีขั้นตอนดังนี้ ๔ . ๑ รู ที่จะขอโทษและให อภัยซึ่งกันและกัน ๔ . ๒ จัดระบบแก ไขทีละประเด็นให ชัดเจน ๔ . ๓ หาผู ไกล เกลี่ยถ าจําเป น ความขัดแย งในความคิดนั้นเป นเรื่องปรกติ แต ความขัดแย งที่นําไปสู ความรุนแรงในสังคม ต องได รับการแก ไข และการแก ไขต องเป นสันติวิธี ตัวอย างกรณีศึกษา ความขัดแย งที่เกิดขึ้นใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ที่นําเสนอโดย เมธัส อนุวัตรอุดม ( ๒๕๕๓ ) ในการบรรยายวิชาจิตวิทยาการจัดการความขัดแย ง คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ประเด็นที่ต องพูดคุยป ญหา ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ๔ ประเด็น คือ ๑ . มุมมองต อสภาพป ญหา ๒ . ที่มาของรากเหง าของป ญหา ๓ . เป าหมายและแนวทางแก ไขป ญหา ๔ . พิจารณามิติทางจิตวิทยาในสถานการณ ความขัดแย ง ๑ . มุมมองต อสภาพป ญหาที่ไม ตรงกัน / แยกส วน การมองป ญหาต องมองภาพรวมของป ญหา ไม มองป ญหาเฉพาะมุมมองของตน การมอง ป ญหาต องมองแยกส วนให ครบถ วน แต มิใช มองเหมือนตาบอดคลําช าง แผนภูมิที่ ๗ แสดงมุมมองต อสภาพป ญหาที่ไม ตรงกัน / แยกส วน 205-224 Mac9.indd 219 10/8/13 7:31 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=