ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย 209 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ แนวคิดทางจิตวิทยาเกี่ยวกับการแก ไขความขัดแย ง การแก ไขความขัดแย ง (Con fl ict Resolution) : ความหมายและคําจํากัดความ (Concepts and Definitions) โยฮัน กัลตุง (Johan Galtung, 1969, 1996) ให ความหมายความขัดแย งไว ในลักษณะรูป สามเหลี่ยมดังแผนภูมิข างล างนี้ แผนภูมิที่ ๑ แสดงรูปแบบความขัดแย งของกัลตุง (Galtung’s model of con fl ict, 1996) การขัดแย ง ( Contradiction ) เจตคติ ( Attitude ) พฤติกรรม ( Behavior ) รูปแบบของความขัดแย งตามแผนภูมิสามารถอธิบายได ดังนี้ ๑ . การขัดแย ง คือ ความไม สอดคล อง (incompatibility) ในเป าหมายของกลุ มผู ขัดแย ง ตัวอย างเช น การไม สอดคล องกันระหว างค านิยมทางสังคมกับโครงสร างทางสังคม ๒ . เจตคติ คือ เจตคติของคู กรณีที่อาจเกิดการรับรู ที่ผิดพลาดหรือแตกต างกันทําให เกิด อารมณ ทางลบตามมา ๓ . พฤติกรรม คือ พฤติกรรมที่แสดงออกหลังจากเกิดความรู สึกขัดแย ง อาจกล าวได ว าเป น เครื่องมือการแสดงออกของความขัดแย ง อย างไรก็ตาม กัลตุงอธิบายว า มิติสามเหลี่ยมขัดแย งอาจพัฒนาเป นมิติสามเหลี่ยมก าวร าว หรือมิติสามเหลี่ยมสันติภาพก็ได ตามการจัดการหรือไม จัดการความขัดแย ง หากความขัดแย งมิได มี การจัดการแก ป ญหาความขัดแย ง ความขัดแย งที่เกิดขึ้นก็จะพัฒนาไปสู มิติสามเหลี่ยมความก าวร าว ดังแผนภูมิต อไปนี้ 205-224 Mac9.indd 209 10/8/13 7:31 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=